การค้นหาขั้นสูง
ผู้เยี่ยมชม
7985
อัปเดตเกี่ยวกับ: 2553/10/11
 
รหัสในเว็บไซต์ fa311 รหัสสำเนา 10183
คำถามอย่างย่อ
อัลกุรอานเป็นความมหัศจรรย์ในสามลักษณะ : ก.คำ, ข. เนื้อหา, ค.ผู้นำอัลกุรอานมาเผยแผ่ และทั้งสามลักษณะบ่งบอกว่าอัลกุรอานมาจากพระเจ้าได้เพียงมากน้อยเพียงใด ?
คำถาม
อัลกุรอานเป็นความมหัศจรรย์ในสามลักษณะ : ก.คำ, ข. เนื้อหา, ค.ผู้นำอัลกุรอานมาเผยแผ่ และทั้งสามลักษณะบ่งบอกว่าอัลกุรอานมาจากพระเจ้าได้เพียงมากน้อยเพียงใด ?
คำตอบโดยสังเขป
คำถามนี้ไม่มีคำตอบแบบสั้น โปรดเลือกปุ่มคำตอบที่สมบูรณ์
คำตอบเชิงรายละเอียด

โดยทั่วไปความมหัศจรรย์บางประการแสดงให้เห็นว่าอัลกุรอาน ไม่ว่าจะเป็นในช่วงนั้นหรือในช่วงเวลาเวลาใดๆ ก็ตาม ไม่สามารถมาจากผู้ที่ไม่ใช่อัลลอฮฺได้, ดังเช่นความมหัศจรรย์ด้านวาทศาสตร์ของอัลกุรอาน ไม่ได้จำกัดอยู่เวลาใดเวลาหนึ่ง หรือสถานที่ใดเป็นพิเศษเท่านั้น และวิธีการสาธยายเช่นนี้ก็ไม่ผู้ใดสามารถกระทำได้ไม่ว่าจะเป็นในเวลานั้นหรือในอนาคต ก็ตาม แต่บางครั้งความมหัศจรรย์ของอัลกุรอานก็บ่งบอกเฉพาะเวลาเท่านั้น ซึ่งเป็นการบ่งบอกให้เห็นว่าอัลกุรอัลกุรอานไม่สามารถจากผู้อื่นที่เหนือจากพระเจ้าได้ เช่น ในลักษณะที่สองจากความมหัศจรรย์ด้านเนื้อหาของอัลกุ รอาน (ในกรณีทีสมมุติว่า ณ ปัจจุบันความรู้และวิชาการของอัล-กุรอานยังมิด้ถูกรู้จัก แต่อยู่ในมือของมนุษย์) อีกด้านหนึ่งความมหัศจรรย์บางอย่างเหล่านี้ พิจารณาที่ความพิเศษของผู้นำเอาอัล-กุรอานมาสอน หมายความว่าทั้งเวลาในอดีตที่ผ่านมาหรือในอนาคต จะไม่มีบทเรียนใดที่ถูกนำสั่งสอนเยี่ยงคัมภีร์กุรอ่านอีกต่อไป ขณะที่ความมหัศจรรย์ในส่วนที่เหลือ ได้ถูกแนะนำว่าเป็นความมหัศจรรย์แห่งประวัติศาสตร์ สำหรับทุกโลกทุกสถานที่และทุกเวลา เป็นไปในลักษณะที่ว่าจะไม่มีมนุษย์คนใดบนโลกนี้ มีความสามารถนำมาได้เช่นนั้นอีก

ตอนนี้สิ่งที่ต้องพิจารณาต่อไปคือ ความมหัศจรรย์ในแต่ละส่วนนั้น สามารถพิสูจน์การเป็นวะฮฺยูของกุรอานได้มากน้อยเพียงใด

ความมหัศจรรย์ด้านผู้นำอัลกุรอานมาเผยแผ่ สามารถพิสูจน์ได้เฉพาะว่า อัลกุรอานนั้นถูกประทานลงมาจากพระเจ้าเท่านั้น แต่ไม่ได้พิสูจน์ว่าคำพูดของอัลกุรอาน ก็มาจากอัลลอฮฺ ด้วยเช่นกัน[1]

ขณะที่กล่าวว่าท่านนบี (ซ็อล ฯ) ไม่สามารถเลือกคำพูดเหล่านี้ได้ หรือบางคำพูดที่กล่าวว่า ทั้งคำพูดและรูปประโยคนั้นเป็นของพระเจ้า ซึ่งจะกล่าวในโอกาสต่อไปว่า คำพูดเหล่านี้ล้วนย้อนกลับไปสู่เรื่อง วาทศาสตร์ทั้งสิ้นอันถือว่าวาทศาสตร์นั้นเป็นหนึ่งในความมหัศจรรย์ของอัลกุรอาน ซึ่งไม่ถือว่าเป็นความมหัศจรรย์สำหรับผู้ที่นำเอาอัลกุรอานมา เว้นเสียแต่ว่าจะการกล่าวอ้างว่า ถึงแม้ว่าจะไม่สามารถพิสูจน์ได้ว่าวาทศาสตร์เหล่านี้ไม่ได้มาจากผู้อื่นที่นอกเหนือจากพระเจ้า แต่อย่างน้อยที่สุดสำหรับท่านศาสดา (ซ็อล ฯ) ไร้ความสามารถในการกระทำสิ่งเหล่านี้ ด้วยสมมุติฐานเหล่านี้ สามารถสรุปได้ว่าทั้งคำและลีที่ผสมเป็นกุรอานนั้น ล้วนมาจากรพเจ้าทั้งสิ้น

ความมหัศจรรย์ของอัลกุรอาน ทั้งสี่ประการที่กล่าวมา เป็นความมหัศจรรย์ด้านเนื้อหาซึ่งเพียงแค่พิสูจน์ให้เห็นว่าอัลกุรอานนั้น ถูกประทานมาจากพระเจ้าแน่นอน

แต่ในส่วนของความมหัศจรรย์ด้านวาจาของอาน –ความมหัศจรรย์ด้านวาทศาสตร์และตัวเลข- พิสูจน์ให้เห็นว่าคำและวลีของอัลกุรอานเมื่อรวมกันเป็นอัลกุรอานก็มาจากพระเจ้าเช่นกัน[2] เช่นเดียวกันการที่กล่าวว่าอัลกุรอานมาจากพระเจ้านั้น ก็เนื่องจากความสัมพันธ์กันของโองการต่างๆ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วเท่ากับเป็นการสร้างบริบทให้เกิดขึ้นเท่านั้น นอกจากนี้ แล้ว ยังจะมีวิธีการพิสูจน์ได้อย่างไรว่า การรวมตัวของโองการต่างเข้าด้วยกัน (แม้ว่าบริบทอาจไม่สอดคล้องกัน) ตลอดจนการค้นพบบท (ซูเราะฮฺ) ต่างๆ การรวบรวมบทต่างๆ,และการค้นพบอัลกุรอาน ซึ่งอยู่ในมือของเราขณะนี้ทั้งหมดจะมาจากพระเจ้าจะเป็นไปได้อย่างไร

คำตอบสำหรับคำถามลักษณะนี้ โดยปกติจะตอบในหมวดหมู่วิพากษ์เรื่อง ประวัติอัลกุรอาน[3] นักปราชญ์ฝ่ายอะฮฺลิซซุนนะฮฺบางท่าน และนักบูรพาคดีส่วนใหญ่ ต่างตกอยู่ในวังวนของประเด็นนี้ กล่าวคือ พวกเขามีความเชื่อมั่นว่า การรวบรวมโองการต่างๆ การเกิดของซูเราะฮ์อัลกุรอาน การรวบรวมซูเราะฮฺต่างๆ และการรวบรวมอัลกุรอานนั้น เกิดขึ้นภายหลังจากอนิจกรรมของท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อล ฯ) [4]

แหล่งอ้างอิงเพื่อศึกษาเพิ่มเติม :

Hadavi เตหะราน Mehdi  มะบานีกะลามี อิจญ์ติฮาด



[1]  บางคนกล่าวเช่นนี้เหมือนกันว่า ถ้าหากกุรอานมาจากพระเจ้า ส่วนคำนั้นมาจากนบี (ซ็อล ฯ) ขณะที่นักปราชญ์ฝ่ายอิสลามจากอดีตจวบจนถึงปัจจุบันต่างมีความเชื่อว่า ความแตกต่างระหว่างฮะดีซกุดซีย์กับอัล-กุรอานก็คือประเด็นดังกล่าวนี้เอง กล่าวคือฮะดีซกุดซีย์ เนื้อหานั้นมาจากพระเจ้าส่วนคำมาจากนบี ขณะอัลกุรอานนั้นแม้แต่คำก็มาจากพระเจ้า

[2]  บางครั้งการเน้นย้ำของบรรดานักปราชญ์จากอดีตจนถึงปัจจุบันเกี่ยวกับเรื่อง ความมหัศจรรย์ด้านวาทศาสตร์ของอัลกุรอานก็คือประเด็นนี้เอง

[3] หนังสือตัวอย่างเช่นดู : Abu Abdullah Zanjani ประวัติอัลกุรอาน; Mahmoud Ramyar ประวัติอัลกุรอาน Seyed Mohammad Baqer วิจัยประวัติของอัลกุรอาน Seyed Mohammad Reza Jalali Na'ini ประวัติการรวบรวมอัลกุรอาน

[4] ดัชนี R. : อานทั้งหมด

แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น
จำนวนความเห็น 0
กรุณาป้อนค่า
ตัวอย่าง : Yourname@YourDomane.ext
กรุณาป้อนค่า
<< ลากฉัน
กรุณากรอกจำนวนที่ถูกต้องของ รหัสรักษาความปลอดภัย

คำถามสุ่ม

  • สินไหมชดเชยการฆ่าผิดพลาด เป็นจำนวนเท่าไหร่? ทุกวันนี้ค่าเงินดีนารและดิรฮัม, เทียบเท่ากี่ดอลลาร์?
    7560 สิทธิและกฎหมาย 2555/05/20
    ค่าเงินดิรฮัมและดีนาร เป็นค่าเงินสมัยท่านเราะซูล (ซ็อล ฯ) และอิมามมะอฺซูม (อ.) ซึ่งปัจจุบันภารกิจด้านชัรอียฺและกฎหมายก็ยังใช้อยู่ และปัจจุบันบางภารกิจยังใช้ค่าเงินนั้นอยู่ ดีนาร, คือเหรียญซึ่งทำจากทองคำ ส่วนดิรฮัมทำด้วยเงิน, ดังนั้น ถ้ารู้น้ำหนักทองหรือเงินที่ใช้ทำเหรียญ ดินาร และดิรฮัม ก็จะทำให้เราเข้าใจถึงราคาปัจจุบันของเหรียญทั้งสองทันที, ปกติดินารชัรอียฺ ประมาณ 4/42 กรัม แต่ทัศนะของบางคนกล่าวว่า 4/46 กรัม[1] ดังนั้น ถ้าคิดเทียบอัตราค่าทองและเงินในปัจจุบัน ก็สามารถกำหนดราคาทองคำและเงิน โดยคำนวณเป็นเงินดอลลาร์ได้อย่างง่ายดาย แต่สำหรับภารกิจบางอย่าง ซึ่งอยู่ในฐานะของ สินไหมชดเชยการฆ่าผิดพลาด จำเป็นต้องจ่ายออกไปเป็นดิรฮัมและดินาร ซึ่งสามารถแบ่งได้หลายกรณีดังนี้ : 1.ถ้าหากผู้ตายเป็นชาย เป็นมุสลิม ...
  • ทั้งที่ท่านอิมามอลี (อ.) ทราบถึงเจตนาชั่วของอิบนิ มุลญัม เหตุใดท่านจึงไม่ปกป้องชีวิตตนเอง?
    6211 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/12/29
    เหตุผลที่ท่านอิมามอลีไม่แก้ไขเหตุที่จะเกิดในอนาคตก็คือ:1.ความรู้ระดับทั่วไปคือหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติภารกิจ:เพื่อเป็นการเคารพกฏเกณฑ์ของอัลลอฮ์ท่านอิมามจึงเลือกที่จะปฏิบัติหน้าที่เสมือนบุคคลทั่วไปโดยจะไม่ปฏิบัติตามความรู้แจ้งเห็นจริงเนื่องจากว่าหากท่านจะปฏิบัติตามญาณวิเศษย่อมจะไม่สามารถเป็นแบบฉบับแก่บุคคลทั่วไปได้เพราะบุคคลทั่วไปไม่มีญาณวิเศษ2. กลไกของโลกดุนยาตั้งอยู่บนพื้นฐานของการทดสอบซึ่งหากจะปฏิบัติตามญาณวิเศษก็ย่อมจะทำให้กลไกดังกล่าวเสียหายเนื่องจากจะทำลายชีวิตประจำวันของผู้คนสรุปคือแม้ว่าอิมามอลีมีหน้าที่ต้องรักษาชีวิตเสมือนบุคคลทั่วไปแต่ทว่าประการแรก: หน้าที่ดังกล่าวอยู่ในขอบเขตความรู้ทั่วไปมิไช่ญาณวิเศษประการที่สอง: คู่กรณีของท่าน(อิบนิมุลญัม)
  • การถูกสาปเป็นลิงคือโทษของผู้ที่จับปลาในวันเสาร์เพราะมีความจำเป็นหรืออย่างไร?
    13127 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/04/09
    ในเบื้องแรกควรทราบว่าการหาปลาประทังชีวิตมิไช่เหตุที่ทำให้บนีอิสรออีลส่วนหนึ่งถูกสาป เพราะการหาเลี้ยงชีพนอกจากจะไม่เป็นที่ต้องห้ามแล้ว ยังถือเป็นส่วนหนึ่งของอิบาดะฮ์ในทัศนะอิสลามอีกด้วย ท่านอิมามศอดิก(อ.)กล่าวว่า “ผู้ที่ทำงานหาเลี้ยงครอบครัวเสมือนนักต่อสู้ในหนทางของอัลลอฮ์” ฉะนั้น เหตุที่ทำให้พวกเขาถูกสาปจึงไม่ไช่แค่การจับปลา และนั่นก็คือสิ่งที่อัลลอฮ์กล่าวไว้ว่า “และเช่นนี้แหล่ะที่เราได้ทดสอบพวกเขาในสิ่งที่พวกเขาฝ่าฝืน” สิ่งที่ช่วยยืนยันเหตุผลดังกล่าวก็คือ มีสำนวน اعتدوا และ یعدون (ละเมิด) ปรากฏในโองการที่เกี่ยวกับเรื่องนี้ อันแสดงว่าพวกเขาถูกลงโทษเนื่องจากทำบาปและฝ่าฝืนพระบัญชาของพระองค์ ทำให้ไม่ผ่านบททดสอบเกี่ยวกับเรื่องนี้ การพักงานในวันเสาร์ถือเป็นหลักปฏิบัติถาวรของชนชาติยิวจนถึงทุกวันนี้ ซึ่งก็มิได้เป็นการชี้โพรงให้นอนเอกเขนกด้วยความเกียจคร้านแต่อย่างใด แต่เนื่องจากโดยปกติแล้ว คนเราจะทำงานอย่างเต็มที่ตลอดสัปดาห์โดยไม่ไคร่จะสนใจอิบาดะฮ์ ความสะอาด ครอบครัว ฯลฯ เท่าที่ควร จึงสมควรจะสะสางหน้าที่เหล่านี้ในวันหยุดสักหนึ่งวันต่อสัปดาห์ การได้อยู่กับครอบครัวก็มีส่วนทำให้เกิดพลังงานด้านบวกที่จะกระตุ้นให้เริ่มงานในวันแรกของสัปดาห์อย่างมีประสิทธิภาพ ฉะนั้น การไม่ทำงาน (ที่เป็นทางการ) ในวันหยุด มิได้แสดงถึงความเกียจคร้านเสมอไป ...
  • การจ่ายคุมซ์เป็นทรัพย์สินเพียงครั้งเดียว แล้วต่อไปไม่วาญิบต้องจ่ายคุมซ์อีกใช่หรือไม่?
    5334 สิทธิและกฎหมาย 2554/06/22
    ดั่งเป็นที่ทราบกันดีว่าคุมซ์คือหนึ่งในการบริจาคทรัพย์อันเป็นวาญิบสำคัญในอิสลามเป็นหนึ่งในหลักการอิสลามและเป็นอิบาดะฮฺด้วยด้วยสาเหตุนี้เองจำเป็นต้องเนียต (ตั้งเจตคติ) เพื่อแสวงความใกล้ชิดต่ออัลลอฮฺ (ซบ.)ทรัพย์สินและเงินทุนต่างๆที่ต้องจ่ายคุมซ์ถ้าหากจ่ายคุมซ์ไปแล้วเพียงครั้งเดียวไม่วาญิบต้องจ่ายคุมซ์อีกแม้ว่ากาลเวลาจะผ่านพ้นไปนานหลายปีก็ตามแต่ถ้าเป็นทรัพย์ที่เติบโตหรือมีราคาสูงขึ้นกว่าเดิมทุนเดิมไม่ต้องจ่ายคุมซ์แต่ส่วนที่เป็นผลกำไรงอกเงยอออกมาวาญิบต้องจ่ายคุมซ์[1][1]  เตาฏีฮุลมะซาอิลมะริญิอฺ
  • จะมีวิธีการสนับสนุนอย่างไรบ้าง เพื่อให้บุตรหลานรักการอิบาดะฮฺ?
    6003 จริยธรรมปฏิบัติ 2555/08/22
    สำหรับการส่งเสริมและการสนับสนุนให้ปฏิบัติข้อบังคับของศาสนา เบื้องต้นสิ่งแรกที่จะต้องทำคือการวิเคราะห์ความคิดของเขา หลังจากนั้นจึงจะหาวิธีแก้ไขและส่งเสริมต่อไป, ทัศนะของบุคคลและความเชื่อที่มีต่ออัลลอฮฺ, โลกทัศน์ของพระเจ้า,มนุษย์, วันฟื้นคืนชีพ และ... เหล่านี้มีผลโดยตรงต่อความเชื่อ เพราะจะช่วยทำให้เขามั่นคงต่อการอิบาดะฮฺ และการปฏิบัติข้อบังคับต่างๆ และความประพฤติ การโน้มน้าวทางความเชื่อ การมีวิสัยทัศน์ที่ดี และการมีความคิดดีกับฝ่ายตรงข้าม (โดยเฉพาะอย่างยิ่งบุตรหลาน) ดังนั้น เพื่อก่อให้เกิดมรรคผลในทางที่ดี การอบรมสั่งสอนและการส่งเสริม จึงจำเป็นต้องเริ่มจากความคิดของเขาก่อน แน่นอน การที่บิดามารดาไม่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับบุตร โปรแกรมการอบรมสั่งสอนย่อมไม่ได้ผล หรือล้มเหลวแน่นอน โดยการใช้วิธีปฏิบัติที่เหมาะสมด้านการอบรม สามารถสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับบุตรหลานของตนได้ บางวิธีการเป็นวิธีที่มีความจำเป็นและเหมาะสม ดังเช่น : 1 ให้เกียรติบุตร: ท่านศาสดา (ซ็อลฯ) กล่าวว่า "จงให้เกียรติลูกๆ ของตนและจงอบรมสั่งสอนให้ดี" 2 รู้ถึงความต้องการของเด็กและเยาวชนในช่วงวัยรุ่น (เช่นความเป็นอิสระ, อารมณ์, ฯลฯ) เป็นการรู้จักทั่วไปถึงสภาพจิตใจอันเฉพาะของลูกแต่ละคน ...
  • บุตรีของมุสลิม บิน อะกีลมีชื่อว่าอะไร?
    7182 تاريخ کلام 2554/06/22
    หลังจากได้ศึกษาหนังสือหลายเล่มเกี่ยวกับชีวประวัติของท่านมุสลิมบินอะกีลเข้าใจได้ว่าท่านมุสลิมมีบุตรี 2 คนนามว่าอาติกะฮฺและฮะมีดะฮฺซึ่งอาติกะฮฺอยู่ในเหตุการณ์กัรบะลาอฺด้วยและเธอได้ชะฮีดในวันอาชูรอขณะศัตรูได้บุกโจมตีเต็นท์ต่างๆส่วนฮะมีดะฮฺได้ถูกจับตัวเป็นเชลยพร้อมกับเชลยแห่งกัรบะลาอฺซึ่งตระกูลของมุสลิมได้สืบเชื้อสายมาจากนาง ...
  • หนังสือดุอามีความน่าเชื่อถือเพียงพอหรือไม่?
    5878 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/11/09
    มีสามประเด็นที่ควรพิจารณา1. ตำราที่ยกมาทั้งหมดล้วนเป็นที่ไว้วางใจของผู้ประพันธ์ทั้งสิ้นดังจะทราบได้จากอารัมภบทของหนังสือ"มะซ้ารกะบี้ร"และ"บะละดุ้ลอะมีน"อัลลามะฮ์มัจลิซีเองก็ให้การยอมรับตำราเหล่านี้และกล่าวถึงผู้ประพันธ์อย่างให้เกียรติ2. แนวปฏิบัติของบรรดาฟุก่อฮาอ์(ปราชญ์ทางนิติศาสตร์อิสลาม)คือการพิสูจน์ความถูกต้องของสายรายงานฮะดีษเสียก่อน
  • บทบาทและเป้าหมายของอะฮ์ลุลบัยต์คืออะไร?
    6878 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/21
    มีฮะดีษทั้งในสายของชีอะฮ์และซุนนะฮ์มากมายที่บ่งชี้ถึงความประเสริฐของอะฮ์ลุลบัยต์ของท่านนบี(ซ.ล.)อันประกอบด้วยผู้มีเกียรติทั้งห้านั่นคือตัวท่านนบีเอง, ท่านอิมามอลี, ท่านหญิงฟาฏิมะฮ์
  • เนื่องจากการเสริมสวยใบหน้า ดังนั้น กรณีนี้สามารถทำตะยัมมุมแทนวุฎูอฺได้หรือไม่?
    8807 สิทธิและกฎหมาย 2556/01/24
    ทัศนะบรรดามัรญิอฺ ตักลีดเห็นพร้องต้องกันว่า สิ่งที่กล่าวมาในคำถามนั้นไม่อาจนำมาเป็นข้ออ้าง เพื่อละทิ้งวุฎูอฺหรือฆุซลฺ และทำตะยัมมุมแทนได้เด็ดขาด[1] กรณีลักษณะเช่นนี้ ผู้ที่มีความสำรวมตนส่วนใหญ่จะวางแผนไว้ก่อน เพื่อไม่ให้โปรแกรมเสริมสวยมามีผลกระทบกับการปฏิบัติสิ่งวาญิบของตน ซึ่งส่วนใหญ่จะทราบเป็นอย่างดีว่าเวลาที่ใช้ในการเสริมสวยแต่ละครั้งจะไม่เกิน 6 ชม. ดังนั้น ช่วงเวลาซุฮฺรฺ เจ้าสาวสามารถทำวุฏูอฺและนะมาซในร้านเสริมสวย หลังจากนั้นค่อยเริ่มแต่งหน้าเสริมสวย จนกว่าจะถึงอะซานมัฆริบให้รักษาวุฏูอฺเอาไว้ และเมื่ออะซานมัฆริบดังขึ้น เธอสามารถทำนะมาซมัฆริบและอิชาอฺได้ทันที ดังนั้น ถ้าหากมีการจัดระเบียบเวลาให้เรียบร้อยก่อน เธอก็สามารถทำได้ตามกล่าวมาอย่างลงตัว อย่างไรก็ตามเจ้าสาวต้องรู้ว่าเครื่องสำอางที่เธอแต่งหน้าไว้นั้น ต้องสามารถล้างน้ำออกได้อย่างง่ายดาย และต้องไม่เป็นอุปสรรคกีดกั้นน้ำสำหรับการทำวุฎูอฺเพื่อนะมาซซุบฮฺในวันใหม่ [1] มะการิมชีรอซียฺ,นาซิร,อะฮฺกามบานูวอน, ...
  • ฮะดีซต่างๆ ในหนังสือกาฟียฺ สามารถอธิบายความอัลกุรอานได้หรือไม่?
    7638 ดิรอยะตุลฮะดีซ 2555/07/16
    นักรายงานฮะดีซผู้ยิ่งใหญ่ท่านหนึ่งคือ มุฮัมมัด บิน ยะอฺกูบ กุลัยนียฺ (รฮ.) เป็นหนึ่งในปราชญ์ผู้อาวุโสฝ่ายชีอะฮฺ และเป็นหนึ่งในนักรายงานฮะดีซที่เชื่อถือได้มากที่สุดของฝ่ายอิมามียะฮฺ ท่านอยู่ในยุคสมัยการเร้นกายระยะสั้นของท่านอิมามมะฮฺดียฺ (อ.) และยังเป็นผู้ประพันธ์หนังสือ อุซูลกาฟียฺ อันเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดี ด้วยเหตุนี้เอง จะเห็นว่ารายงานส่วนใหญ่ในหนังสือกาฟียฺล้วนเป็นที่เชื่อถือ แต่หนังสือกาฟียฺก็เหมือนกับหนังสือฮะดีซทั่วไปที่มีรายงานอ่อนแอ และไม่น่าเชื่อถืออยู่บ้าง ตามทัศนะของชีอะฮฺและอะฮฺลุซซุนนะฮฺ มีฮะดีซที่ถูกต้องจำนวนมากมายจากท่านศาสดา (ซ็อลฯ) และอิมามผู้บริสุทธิ์ บันทึกอยู่ในหนังสือญะวามิอฺริวายะฮฺ ซึ่งฮะดีซจำนวนมากเหล่านั้นได้ตัฟซีรโองการอัลกุรอาน ซึ่งหนึ่งในฮะดีซทรงคุณค่าเหล่านั้นคือ หนังสือกาฟียฺ ...