เมนูด้านบน
ติดต่อเรา
คำแนะนำ
เกี่ยวกับเรา
บล็อก
RSS
ไทยแลนด์
ไทยแลนด์
فارسی
العربية
اردو
English
Indonesia
Türkçe
Русский
Melayu
Français
Azəri
Español
Deutsch
Italiano
swahili
Hausa
Hindi
www.islamquest.net
หน้าหลัก
คลังคำตอบ
ลงทะเบียนคำถามใหม่
หน้าแรก
คลังคำตอบ
เทววิทยา
The Recognition of Imams
دلایل اثبات امامت
ضرورت وجود امام
วันจันทร์, 02 ธันวาคม 2567
ทุกคำ
ตรงตามประโยค
แต่ละคำ (เฉพาะคำที่ค้นหา)
ทุกคำ (ที่เกี่ยวข้อง)
► กระทู้รวม
อัล-กุรอาน
پیامبران
ฮะดีซ
เทววิทยา
ปรัชญา
จริยศาสตร์
รหัสยะ
หลักกฎหมาย
ประวัติศาสตร์
อัตรชีวะ
judgments
مبانی شیعه
اندیشه های امام خمینی (ره)
مفاهیم قرآنی
ولایت فقیه و حکومت اسلامی
عرفان و اخلاق
Logic and Philosophy
Know More
Arabic Grammar
ทุกเวลา
24 ชั่วโมงที่ผ่านมา
สัปดาห์ที่ผ่านมา
เมื่อสองสัปดาห์ก่อน
สามสัปดาห์ก่อน
เดือนที่ผ่านมา
สามเดือนที่ผ่านมา
เมื่อหกเดือนก่อน
ข้อความ
หมวดหมู่
คำถามสำคัญ
รหัสคำถาม
เนื้อหาคำถาม
เนื้อหาคำตอบ
เนื้อหาคำถามและคำตอบ
การค้นหาขั้นสูง
ไม่พบรายการ
เชิญตั้งคำถาม
หมวดหมู่
อัล-กุรอาน
การตีความ (ตัฟซีร)
วิทยาการกุรอาน
The Fourteen Infallibles
پیامبر اکرم ص
مناقب و ویژگی ها
آخرین پیامبر
پیامبری برای جهانیان
پیامبر، ناظری بر کردار مردم
قرآن و دیگر معجزات
پیامبر قبل از نبوت
پیامبر ص در مکه
اسراء و معراج
هجرت
تشکیل حکومت
جنگهای پیامبر ص
رفتار با پیروان
رفتار با غیر مسلمانان
زندگی خصوصی
بیماری، رحلت و وفات
ข้อมูลน่ารู้
وحی، نبوت و عصمت
امام علی ع
خصوصیات و مناقب
برخی دلایل امامت امیر المؤمنین ع
ข้อมูลน่ารู้
حدیث دوات و قلم
غدیر خم
قرآن و امام علی ع
امام علی ع و خلفا
جنگهای امام علی ع
رفتار امام علی ع
شهادت امام علی ع
مرقد امام علی ع
روایات و دعاهای برجای مانده
ข้อมูลน่ารู้
سقیفه بنی ساعده
حضرت فاطمه زهرا س
ویژگی ها و مناقب
القاب حضرت زهرا س
کوثر
عزیزترین فرزند پیامبر ص
زندگی با امیر المؤمنین ع
عبادت زهرا س
زهرا بعد از پیامبر ص
شهادت زهرا س و مرقد ایشان
فرزندان زهرا س
ข้อมูลน่ารู้
فدک
امام حسن مجتبی ع
امام حسین ع
امام حسین قبل از امامت
قیام امام حسین ع
از خلافت یزید تا رسیدن به کربلا
حوادث روز عاشورا
اهل بیت و یاران
سپاهیان دشمن
حوادث بعد از شهادت
اربعین
نقلهای غیر مستند
فضائل و مناقب
زیارت عاشورا و دیگر زیارات
خونخواهان حسین ع
ข้อมูลน่ารู้
عزاداری و زیارت
امام سجاد ع
امام باقر ع
امام صادق ع
امام کاظم ع
امام رضا ع
امام جواد ع
امام هادی ع
امام حسن عسکری ع
امام مهدی عج
مهدی در قرآن
مهدی ع از زبان پیامبر ص
میلاد مهدی
خصوصیات و مناقب
مادر امام مهدی
مهدی و اهل سنت
منجی در دیگر ادیان
دلایل غیبت
کیفیت زندگی امام غایب
فایدۀ امام غایب
عمر طولانی
نایبان مهدی
ملاقات با مهدی
وظیفۀ شیعیان در زمان غیبت
انتظار فرج
نشانه های ظهور
بعد از ظهور
مهدی و عیسی بن مریم
سوء استفاده از مهدویت
قیام های قبل از ظهور
ข้อมูลน่ารู้
رجعت
پیامبران
آدم
شیث(هبة الله)
ادریس
نوح
سام
هود
صالح
ابراهیم
لاحج
لوط
اسماعیل
اسحاق
یعقوب
یوسف
ایوب
شعیب
موسی
هارون
یوشع
حزقیل
حیقوق
عزیر
دانیال
جرجیس
سموئیل
داود
سلیمان
ارمیاء
ذوالکفل
الیاس
یسع
یونس
شعیا
عمران
زکریا
یحیی
عیسی
خالد بن سنان
پیامبر اسلام(ص)
آیا پیامبر بودند؟
قیدار
بنیامین
کنفوسیوس
سقراط
بودا
مانی
افلاطون
ارسطو
طالوت
ذوالقرنین
شمعون
زرتشت
لقمان
خضر
الیا
حنظلة
کالب
باروخ
ฮะดีซ
ดิรอยะตุลฮะดีซ
ริญาลุลฮะดีซ
เทววิทยา
Philosophy
قدم
حدوث
علت و معلول
امتناع
وجوب
امکان
عدم
وجود
Theism
خدا و جهان
توکل
ارتباط انسان با جهان
هدف آفرینش
آفرینش انسان و جهان
عدل الهی
انسان و سرنوشت
حسن و قبح عقلی
بداء
انسان و اختیار
قضاء و قدر
امتحان و آزمایش الهی
دلایل عدل الهی
معنای عدل الهی
صفات الهی
صفات فعلیه
صفات ذاتیه
اسمای الهی
مراتب توحید
توحید در عبادت
توحید در افعال
توحید در ربوبیت
توحید در خالقیت
توحید در صفات
توحید در ذات
اثبات وجود خدای تعالی
ادله نقلی
ادله عقلی
The Recognition of the Holy Prophet
نبوت خاصه
نبوت حضرت محمد(ص)
معجزه حضرت محمد(ص)
ختم نبوت
پیامبران اولواالعزم
نبوت عامه
صفات و زندگی پیامبران
اسامی پیامبران
عصمت
وحی
ارتباط میان نبوت و معجزه
ضرورت بعثت پیامبران
The Recognition of Imams
ตะกียะฮ์
رجعت
توسل به اولیای الهی
محبت و اطاعت امامان
شرایط و صفات امام
علم
عصمت
تعیین امام
دلایل اثبات امامت
مصداق امام
امامت مهدی(عج)
اسامی امامان
رابطه نبوت و امامت
امامت در سنت
قرآن و امامت
ضرورت وجود امام
معاد شناسی
قیامت
بهشت و جهنم
جهنمیان
بهشتیان
شفاعت
پل صراط
اوصاف بهشت و جهنم
معاد جسمانی و روحانی
نشانه های برپایی قیامت
برزخ
تناسخ
دلائل عقلی و نقلی معاد
حقانیت مرگ
The Recognition of Religion History
ادیان
دیگر ادیان
ادیان ابراهیمی
مسیحیت
یهود
دین اسلام
فرقه های اسلامی
اهل سنت
Shi
مصالح و مفاسد در احکام دین
اسلام و عقلانیت
جامعیت اسلام
دین خاتم
فطرت
قلمرو دین
هرمنوتیک
زبان دین
نسبت علم و دین
ปรัชญาของศาสนา
دین نفس الامری
چیستی دین
เทววิทยาดั้งเดิม
เทววิทยาใหม่
ประวัติศาสตร์
ประวัติหลักกฎหมาย
تاريخ کلام
تاريخ بزرگان
ประวัติสถานที่
อัตรชีวะ
ชีวประวัติมะอฺซูม (อ.)
حضرت زهرا (س)
ชีวประวัตินักปราชญ์
Ethic and Mysticism
รหัสยทฤษฎี
کلیات
اصطلاحات
عرفان و فلسفه
عشق و عرفان
عرفان و شناخت نفس
تعریف عرفان
عرفان های کاذب
یوگا
کیهانی
شیطان پرستی
حلقه
اکنکار
آموزش عرفان
عرفان اسلامی و مکاتب دیگر
رمزی بودن و کتمان
قابلیت های عرفان
دین و عرفان
اصول و مبانی
توحیدشناسی
وحدت وجود
مقامات ذات
تجلی ذاتی
چینش وجود
موحدشناسی
انسان شناسی
انسان کامل
انسان و خدا
مقامات
فنا
مقام محمود
فتح المبین
شهود قلبی
شرح حال
Practical Mysticism and Ethic
کلیات
فرق عرفان عملی و نظری
دین و فرهنگ
تکامل اخلاقی
اصول و مبانی
نظری
انسان شناسی
معیار شناسی (دین و اخلاق)
شبهه شناسی
عملی
روش شناسی
اختلاف روش ها
دستور العمل ها
چله نشینی
ذکر
قرائت قرآن
ترک لذت
کنترل قوۀ خیال
استاد راهنما
رفیق راه
فضایل اخلاقی
توبه
مانع شناسی
حجاب های نورانی
عجب و خود پسندی
گناه و رذائل اخلاقی
درمان رذائل اخلاقی
مقام شناسی
قرب
فنا
طی الأرض
عشق
خلسه
شهود قلبی
مقام محمود
موت اختیاری
فتح المبین
خوف
Logic and Philosophy
Logic
کلیات
روش ریاضی دکارت و قطعیت
موضوع علم
ترتیب مباحث
منطق ارسطو و دیالکتیک
تعریف شناسی
معقول ثانی
ادراک جزئیات
سبر و تقسیم
استدلال شناسی
صناعات خمس
برهان لمی و انی
قیاس اقترانی و استثنائی
جدل یا دیالکتیک در قرآن
منبع شناسی
ปรัชญา
کلیات
معرفت شناسی
ماهیت
تجرد ادراکات
معقول ثانی
تأثیر پیش فرض های علمی
علم حضوری و حصولی
حکمت نظری و عملی
ابطال دور و تسلسل
امتناع اجتماع مثلین
ادراک جزئیات
ارزش معلومات
جوهر و عرض
وجود ذهنی
Philosophy
تباین یا تشکیک موجودات
وحدت وجود
کثرت موجودات
وجود ذهنی
حرکت جوهری
علیت و معلولیت
جوهر و عرض
تجرد یا مادیت صور نوعی
عالم مثال
เวลา
انسان شناسی
مبدأ شناسی
برهان نظم
برهان تمانع
برهان صدیقین
صفات واجب
رابطه واجب و ممکن
پاسخ به شبهات
پرسش و پاسخ
غایت شناسی
منبع شناسی
آراء شناسی
Arabic Grammar
Philology
Sarf & Nahw
Fasahat & Balaghat
Know More
คำถามสุ่ม
หญิงสามารถเรียกร้องค่าจ้าง ในการให้น้ำนมแก่ทารกของตน จากสามีของนางได้หรือไม่?
6217
สิทธิและกฎหมาย
2555/05/20
การพิจารณาประเด็นต่อไปนี้ถือว่าจำเป็นกล่าวคือ บทบัญญัติทางศาสนา กับรากแห่งจริยธรรมในอิสลามคือความสมบูรณ์ของกันและกัน ทั้งสองจะไม่แยกออกจากกันเด็ดขาด[1] ด้วยเหตุนี้, แม้ว่าบทบัญญัติในบางกรณีจะกล่าวถึง สิทธิ จากประมวลสิทธิทั้งหลาย ซึ่งเป็นสิ่งตายตัวสำหรับบางคน และผู้ปฏิบัติสามารถใช้ประโยชน์จาก กฎเกณฑ์ของฟิกฮฺได้, แต่โดยหลักการของศาสนา ได้กล่าวถึงสิทธิอีกประการหนึ่งในฐานะของ หลักจริยธรรม ดังนั้น การนำเอาสิทธิทั้งสองประการมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน จะทำให้มีชีวิตมีความสุขราบรื่น เกี่ยวกับปัญหาที่ได้กล่าวข้างต้นนั้น, ต้องกล่าวว่าสิ่งนี้ขึ้นอยู่กับประเภทของวัฒนธรรม และการยึดมั่นต่อบทบัญญัติชัรอียฺ นอกจากนั้นยังขึ้นอยู่กับมาตรฐานความรักและความสัมพันธ์ ระหว่างชายกับหญิง ถ้าหากความสัมพันธ์ของทั้งสองวางอยู่บนคำสอนของศาสนา ความรัก และไมตรีที่มีต่อกัน ประกอบสามีพอมีกำลังทรัพย์, ซึ่งนอกจากค่าเลี้ยงดูและสิ่งจำเป็นทั่วไปแล้ว, เขายังสามารถแบ่งปันและจ่ายเป็นรางวัลค่าน้ำนม ที่ภรรยาได้ให้แก่ลูกของเธอ, แน่นอน ในแง่ของจริยธรรม ถ้าหากสามีไม่มีความสามารถด้านการเงิน, ดีกว่าภรรยาไม่สมควรเรียกรางวัลตอบแทนใดๆ และจงพิจารณาประเด็นเหล่านี้เป็นพิเศษว่า ชีวิตคู่จะมีความสุขราบรื่นก็เมื่อ ทั้งสามีและภรรยาได้ปฏิบัติหน้าที่ทางบทบัญญัติ และหลักจริยธรรมไปพร้อมกัน แต่ถ้าภรรยายืนยันเสียงแข็งว่า ...
ฮุศ็อยน์ บิน นุมัยร์ (ตะมีม) เป็นใครมาจากใหน?
6263
تاريخ بزرگان
2555/03/08
حصين بن نمير ซึ่งออกเสียงว่า “ฮุศ็อยน์ บิน นุมัยร์” ก็คือคนเดียวกันกับ “ฮุศ็อยน์ บิน ตะมีม” หนึ่งในแกนนำฝ่ายบนีอุมัยยะฮ์ที่มาจากเผ่า “กินดะฮ์” ซึ่งจงเกลียดจงชังลูกหลานของอิมามอลีอย่างยิ่ง และมีส่วนร่วมในการสังหารฮะบี้บ บิน มะซอฮิร หนึ่งในสาวกของอิมามฮุเซน บิน อลีในวันอาชูรอ ปีฮ.ศ. 61 โดยได้นำศีรษะของฮะบี้บผูกไว้ที่คอของม้าเพื่อนำไปยังราชวังของ “อิบนิ ซิยาด” ...
อัมร์ บิน อ้าศมีอุปนิสัยอย่างไรในประวัติศาสตร์?
10275
تاريخ بزرگان
2554/08/02
อัมร์ บิน อ้าศ บิน วาอิ้ล อัสสะฮ์มี โฉมหน้านักฉวยโอกาสที่แฝงด้วยเล่ห์เหลี่ยมแพรวพราว ถือกำเนิดจากหญิงที่ชื่อ“นาบิเฆาะฮ์” บิดาของเขาคืออ้าศ บิน วาอิ้ล เป็นมุชริกที่เคยถากถางเยาะเย้ยท่านนบีด้วยคำว่า“อับตัร”หลังจากกอซิมบุตรของท่านนบีถึงแก่กรรมในวัยแบเบาะ ซึ่งหลังจากนั้น อัลลอฮ์ได้ประทานอายะฮ์ “ان شانئک هو الابتر” เพื่อโต้คำถากถางของอ้าศอัมร์ บิน อ้าศ เป็นที่รู้จักในเรื่องความเจ้าเล่ห์ ในสมัยที่อิมามอลี(อ.)ดำรงตำแหน่งเคาะลีฟะฮ์ เขากลายเป็นมือขวาของมุอาวิยะฮ์ในสงครามศิฟฟีนเพื่อต่อต้านท่าน และสามารถล่อลวงทหารฝ่ายอิมามเป็นจำนวนมาก ท้ายที่สุดก็ใช้เล่ห์กลหลอกอบูมูซา อัลอัชอะรี เพื่อเอื้อผลประโยชน์แก่มุอาวิยาะฮ์ ท้ายที่สุดได้รับแต่งตั้งโดยมุอาวิยะฮ์ให้เป็นผู้ปกครองเมืองอิยิปต์ ...
สาขามัซฮับที่สำคัญของชีอะฮ์มีจำนวนเท่าใด?
10129
เทววิทยาดั้งเดิม
2554/07/10
คำว่า“ชีอะฮ์”โดยรากศัพท์แล้วหมายถึง“สหาย”หรือ“สาวก”และยังแปลได้ว่า“การมีแนวทางเดียวกัน” ส่วนในแวดวงมุสลิมหมายถึงผู้เจริญรอยตามท่านอิมามอลี(อ.) ซึ่งมีการนิยามความหมายของคำว่าผู้เจริญรอยตามว่า
ช่วงก่อนจะสิ้นลม การกล่าวว่า “อัชฮะดุอันนะ อาลียัน วะลียุลลอฮ์” ถือเป็นวาญิบหรือไม่?
7995
สิทธิและกฎหมาย
2555/03/18
หนึ่งในช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดของชีวิตคนเราคือช่วงที่เขากำลังจะสิ้นใจ เรียกกันว่าช่วง“อิฮ์ติฎ้อร” โดยปกติแล้วคนที่กำลังอยู่ในช่วงเวลานี้จะไม่สามารถพูดคุยหรือกล่าวอะไรได้ บรรดามัรญะอ์กล่าวถึงช่วงเวลานี้ว่า “เป็นมุสตะฮับที่จะต้องช่วยให้ผู้ที่กำลังจะสิ้นใจกล่าวชะฮาดะตัยน์และยอมรับสถานะของสิบสองอิมาม(อ.) ตลอดจนหลักความเชื่อที่ถูกต้องอื่นๆ”[1] ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า “การกล่าวชะฮาดะฮ์ตัยน์และการเปล่งคำยอมรับสถานะของสิบสองอิมามถือเป็นกิจที่เหมาะสำหรับผู้ที่ใกล้จะสิ้นใจ แต่ไม่ถือเป็นวาญิบ” [1] ประมวลปัญหาศาสนาของอิมาม อัลโคมัยนี (พร้อมภาคผนวก), เล่ม 1, หน้า 312 ...
ประโยคที่ว่า لاتعادوا الایام فتعادیکم หมายความว่าอย่างไร?
6137
ดิรอยะตุลฮะดีซ
2555/01/19
ประโยคดังกล่าวแปลว่า “จงอย่าเป็นศัตรูกับวันเวลาแล้ววันเวลาจะไม่เป็นศัตรูกับท่าน”ประโยคนี้ปรากฏอยู่ในฮะดีษของท่านนบี(ซ.ล.)บางบทอัยยามในที่นี้หมายถึงวันเวลาในรอบสัปดาห์สำนวนนี้ต้องการชี้ให้เห็นความสำคัญของวันเวลาและไม่ควรมองวันเวลาในแง่ลบเพราะอาจจะทำให้ประสบเคราะห์กรรมได้ควรคิดว่าวันเวลาเปี่ยมด้วยความเมตตาของพระองค์ที่เราจะต้องขวนขวายไว้อย่างไรก็ดีประโยคนี้ยังสามารถอธิบายได้อีกรูปแบบหนึ่งซึ่งจะนำเสนอในคำตอบแบบสมบูรณ์ ...
อะฮ์ลิสซุนนะฮ์จะต้องเชื่อเช่นไรจึงจะถือว่าเป็นชีอะฮ์แล้ว?
6389
เทววิทยาดั้งเดิม
2554/11/09
ชีอะฮ์และซุนหนี่มีความเชื่อและหลักปฏิบัติที่คล้ายคลึงกันมากมายอาจมีบางประเด็นที่เห็นต่างกันข้อแตกต่างสำคัญระหว่างชีอะฮ์กับซุนหนี่ก็คือประเด็นปัญหาเกี่ยวกับหลักอิมามัตและภาวะผู้นำของบรรดาอะฮ์ลุลบัยต์ของนบี(ซ.ล.) พี่น้องซุนหนี่จะรับสายธารชีอะฮ์ได้ก็ต่อเมื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติต่อประเด็นอิมามัตเสียก่อนทั้งนี้ก็เนื่องจากชีอะฮ์เชื่อว่าหากไม่นับรวมสถานภาพการรับวะฮีย์แล้ว
การรักษาอาการพูดมาก มีแนวทางใดบ้าง?
12813
จริยธรรมปฏิบัติ
2554/12/21
ลิ้นนอกจากจะเป็นความโปรดปรานอันยิ่งใหญ่ของอัลลอฮฺแล้วยังเป็นสื่อในการพัฒนาการและเป็นเครื่องมือติดต่อกับคนอื่นอีกด้วย, ขณะเดียวกันลิ้นก็ยังมีความเสียหายรวมอยู่ด้วยอย่างมากมายและยังสามารถเป็นแหล่งเพาะพันธ์ความผิดบาปต่างๆได้อีกเป็นจำนวนมหาศาลอีกด้วย, สำหรับการควบคุมลิ้นและการใช้ประโยชน์ในที่จำเป็นและมีความสำคัญนั้นในตอนเช้าหลังจากตื่นนอนทุกเช้าจงเตือนตัวเองว่าโปรดระวังรักษาลิ้นของตนให้ดี
เหตุใดจึงไม่อนุญาตให้นำทองใหม่(รูปพรรณ)ไปแลกเปลี่ยนกับทองเก่าที่มีน้ำหนักมากกว่า?
9141
ปรัชญาของศาสนา
2554/10/23
กุรอานและฮะดีษห้ามปรามธุรกรรมที่เกี่ยวกับดอกเบี้ยอย่างชัดเจนโดยได้อธิบายเหตุผลไว้อย่างสังเขปอาทิเช่นทำลายช่องทางการกู้ยืมเป็นการขูดรีดผู้เดือดร้อนและเป็นเหตุให้สูญเสียการลงทุนในด้านที่สังคมขาดแคลนเหตุผลข้างต้นล้วนเกี่ยวข้องกับดอกเบี้ยประเภทกู้ยืมทั้งสิ้นส่วนดอกเบี้ยประเภทซื้อขายแลกเปลี่ยนนั้นเราไม่พบเหตุผลใดๆทั้งในกุรอานและฮะดีษทำให้เราไม่อาจจะทราบถึงเหตุผลได้อย่างไรก็ดีเรายังต้องปฏิบัติตามบทบัญญัติที่ท่านนบีและบรรดาอิมามกล่าวไว้แต่ก็มิได้หมายความว่าไม่มีเหตุผลหรือปรัชญาใดๆแฝงอยู่ในเรื่องนี้ ผู้รู้บางท่านสันนิษฐานเกี่ยวกับเหตุผลของการห้ามดอกเบี้ยประเภทแลกเปลี่ยนว่าอาจเป็นเพราะธุรกรรมดังกล่าวจะถูกใช้เป็นช่องทางหลบเลี่ยงดอกเบี้ยประเภทกู้ยืมหรือกล่าวได้ว่าดอกเบี้ยประเภทแลกเปลี่ยนคือประตูไปสู่ดอกเบี้ยประเภทกู้ยืมนั่นเอง ...
เพราะอะไรปัญหาเรื่องการตกมุรตัด ระหว่างหญิงกับชายจึงมีกฎแตกต่างกัน?
12380
ปรัชญาของศาสนา
2555/08/22
อิสลามต้องการให้ผู้เข้ารับอิสลาม ได้ศึกษาข้อมูลและหาเหตุผลให้เพียงพอเสียก่อน แล้วจึงรับอิสลามศาสนาแห่งพระเจ้า ได้รับการชี้นำจากพระองค์ต่อไป แต่หลังจากยอมรับอิสลามแล้ว และได้ปล่อยอิสลามให้หลุดลอยมือไป จะเรียกคนนั้นว่าผู้ปฏิเสธศรัทธา และจะได้รับการลงโทษอย่างรุนแรง เนื่องจากสิ่งที่เขาทำจะกลายเป็นเครื่องมือมาต่อต้านอิสลามในภายหลัง และจะส่งผลกระทบในทางลบกับบรรดามุสลิมคนอื่นด้วย แต่เมื่อพิจารณาความพิเศษต่างๆ ของสตรีและบุรุษแล้ว จะพบว่าทั้งสองเพศมีความพิเศษด้านจิตวิญญาณ จิตวิทยา และร่างกายต่างกัน ซึ่งแต่คนจะมีความพิเศษอันเฉพาะแตกต่างกันออกไป เช่น สตรีถ้าพิจารณาในแง่ของจิต จะเห็นว่าเป็นผู้ที่มีจิตใจเปี่ยมไปด้วยความรักและความสงสาร มีความรู้สึกอ่อนไหวเมื่อเทียบกับบุรุษ ดังนั้น กฎที่ได้วางไว้สำหรับบุรุษและสตรี จึงไม่อาจเท่าเทียมกันได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องกฎ ซึ่งพระผู้เป็นเจ้าได้จัดตั้งกฎขึ้นโดยพิจารณาที่ เงื่อนไขต่างๆ และความพิเศษของพวกเขา พระองค์ทรงรอบรู้ถึงคุณลักษณะของปวงบ่าวทั้งหมด โดยสมบูรณ์ และทรงออกคำสั่งห้ามและคำสั่งใช้ บนพื้นฐานเหล่านั้น มนุษย์นั้นมีความรู้เพียงน้อยนิด จึงไม่อาจเข้าใจถึงปรัชญาของความแตกต่าง ระหว่างบทบัญญัติทั้งสองได้โดยสมบูรณ์ เว้นเสียแต่ว่าความแตกต่างเหล่านั้น ได้ถูกอธิบายไว้ในโองการหรือในรายงานฮะดีซ ด้วยเหตุนี้ ระหว่างหญิงกับชายถ้าจะวางกฎเกณฑ์ โดยมิได้พิจารณาถึงความพิเศษต่างๆ ของพวกเขาถือว่าไม่ถูกต้อง และสิ่งนี้ก็คือสิ่งที่มนุษย์ได้ปฏิเสธมาโดยตลอด ...
เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด
อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
60103
สิทธิและกฎหมาย
2554/07/07
ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
57507
จริยธรรมปฏิบัติ
2554/07/03
มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
42175
จริยธรรมปฏิบัติ
2554/06/12
ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
39311
วิทยาการกุรอาน
2555/08/22
หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
38925
จริยธรรมปฏิบัติ
2554/11/14
ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
33978
เทววิทยาดั้งเดิม
2554/06/12
อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
27997
เทววิทยาดั้งเดิม
2554/03/08
ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
27928
การตีความ (ตัฟซีร)
2553/12/22
เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
27761
การตีความ (ตัฟซีร)
2555/02/07
ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
25758
รหัสยทฤษฎี
2555/05/17
ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...
ลิ้งก์ต่างๆ
สารานุกรมอิสลาม
www.islampedia.ir
สำนักงาน Ayatollah Hadavi Tehrani
www.hadavi.info
สถาบันร่มเงาแห่งปัญญา (เราะวากฮิกมัต)
www.ravaqhekmat.ir
Developed by
AfarineshWeb