การค้นหาขั้นสูง
ผู้เยี่ยมชม
6822
อัปเดตเกี่ยวกับ: 2553/12/22
 
รหัสในเว็บไซต์ fa889 รหัสสำเนา 11564
คำถามอย่างย่อ
การรู้พระเจ้าเป็นไปได้ไหมสำหรับมนุษย์ ขอบเขตและคุณค่าของการรู้จักมีมากน้อยเพียงใด ?
คำถาม
การรู้พระเจ้าเป็นไปได้ไหมสำหรับมนุษย์ ขอบเขตและคุณค่าของการรู้จักมีมากน้อยเพียงใด ?
คำตอบโดยสังเขป

มนุษย์สามารถรู้พระเจ้าด้วยวิธีการที่แตกต่างกันหลายวิธี ซึ่งเป็นไปได้ที่การรู้จักอาจผ่านเหตุผล (สติปัญญา)หรือผ่านทางจิตใจ บางครั้งอาจเป็นเหมือนปราชญ์ผู้ชาญฉลาด ซึ่งรู้จักโดยผ่านทางความรู้ประจักษ์ หรือการช่วยเหลือทางความรู้สึก และสิตปัญญาในการพิสูจน์จนกระทั่งเกิดความเข้าใจ หรือบางครั้งอาจเป็นเหมือนพวกอาริฟ (บรรลุญาณ), รู้จักเอง โดยไม่ผ่านสื่อเป็นความรู้ที่ปรากฏขึ้นเอง ซึ่งเรียกว่าจิตสำนึก ตัวอย่างเช่น การค้นพบการมีอยู่ของไฟบางครั้งผ่านควันไฟที่พวยพุ่งขึ้นทำให้เกิดความเข้าใจ หรือเวลาที่มองเห็นไฟทำให้รู้ได้ทันที หรือเห็นรอยไหม้บนร่างกายก็ทำให้รู้ได้เช่นกันว่ามีไฟ

อย่างไรก็ตามทั้งสองวิธี ได้แก่ความรู้ประจักษ์กับการรู้เองนั้น ก็มีเป้าหมายอันเดียวกัน เช่น บุคคลหนึ่งได้ศึกษาสัญลักษณ์ต่างๆ ของพระเจ้าตลอดจนระบบต่างๆ ที่มีอยู่บนโลกนี้ทำให้เขารู้จักพระเจ้าได้เช่นกัน แต่บางครั้งก็ไม่ได้เป็นเช่นนั้น กล่าวคือทั้งผู้กระทำและแนวทางเป็นหนึ่งเดียวกัน หรือแนวทางและเป้าหมายเป็นหนึ่งเดียวกัน ในที่ซึ่งบุคคลรู้จักตัวเองเขาก็สามารถเข้าถึงพระพระเจ้าได้ ซึ่งเป็นส่วนที่สอง แต่ในที่ซึ่งมีการตระหนักในพระนามและคุณลักษณะของพระเจ้า ทำให้รู้จักพระเจ้า ถือได้ว่าเป็นส่วนที่สาม

ในที่ซึ่งแนวทางและเป้าหมายเป็นหนึ่งเดียวกัน และมนุษย์ได้ประจักษ์สิ่งที่เขาพบ สิ่งนั้นจะถือว่ามีคุณค่าอย่างยิ่ง เนื่องจากได้เห็นและได้สัมผัสกับเป้าหมาย ทั้งโองการและรายงานต่างสนับสนุนวิธีการทั้งสาม และได้รับการเน้นย้ำไว้เป็นพิเศษว่าไม่มีสิ่งใดที่จะประจักษ์ชัดยิ่งไปกว่าการรู้จักพระเจ้า ซึ่งทุกสิ่งจำเป็นต้องมาจากพระองค์และไปหาพระองค์ พระองค์คือรัศมี ดังนั้น การรู้จัก การเข้าใจและการสัมผัสพระองค์ไม่จำเป็นต้องอาศัยสิ่งอื่นที่นอกเหนือไปจากพระองค์ ถ้าหากเราถูกกีดขวางในการการมองเห็นหรือรู้จักพระองค์ ก็เนืองจากว่าความรู้ประจักษ์และความรู้แจ้งของเรา ถูกปิดบังด้วยม่านแห่งความหลงลืม

เราไม่ได้มีความรู้ไปสู่ความรู้ ดังนั้น เพื่อการได้สัมผัสความรู้ดังกล่าวนั้น จำเป็นที่เราต้องเปิดม่านอันมืดมิดให้พ้นไปจากตัวเอง ด้วยเหตุนี้ จึงสามารถกล่าวได้ว่า การรู้จักพระเจ้า จึงเป็นธรรมชาติ ส่วนเหตุผลที่พิสูจน์ให้เห็นถึงการมีอยู่ของพระองค์ เป็นเพียงการเปรียบเทียบไม่ใช่การวิเคราะห์

อย่างไรก็ตามควรสังเกตว่าการรู้จักอาตมันและคุณลักษณะของพระเจ้า มิใช่สิ่งที่บรรดานักปราชญ์เข้าใจ และไม่ใช่สิ่งที่บรรดานักบรรลุญาณได้ประจักษ์ ซึ่งนอกเหนือไปจากทั้งสอง กล่าวคือ พระเจ้าสามารถเข้าใจและสามารถประจักษ์ได้

คำตอบเชิงรายละเอียด

สำหรับการตอบคำถามนี้ อันดับแรกต้องแนะนำสื่อในการรู้จักเสียก่อน

สื่อในการรู้จัก ประกอบด้วย ความรู้สึก สติปัญญา และจิตใจ

ผัสสะภายนอก ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งต่อการรู้จักภายนอกของสรรพสิ่งทั้งหลาย แต่ผัสสะนี้จะไม่ลงลึกไปถึงก้นบึ้งของสิ่งเหล่านั้น แม้ว่าจะมีขนาดกว้างไกลและมีความหลากหลาย ซึ่งได้มอบแก่มนุษย์ที่ แต่ในทัศนะของระยะเวลาและสถานที่สิ่งเหล่านี้จะถูกจำกัดไปโดยปริยาย

สติปัญญาถือว่าเป็นพลังพิเศษและพื้นฐานสำคัญยิ่งของสติปัญญาคือ ความเข้าใจความหมายทั่วไป หมายถึงมีเกียรติยศและบทบาทต่างๆ มากมาย ซึ่งหนึ่งในหน้าที่ของสติปัญญาก็คือ การพิสูจน์หาเหตุผล

แต่สื่อในการรู้จักไม่ได้จำกัดอยู่เพียงแค่ 2 ประการนี้เท่านั้น มนุษย์สามารถค้นพบความรู้และวิชาการอันยิ่งใหญ่นี้ได้ ด้วยแนวทางของจิตใจ ซึ่งตนสามารถประจักษ์สิ่งที่คนอื่นได้รู้ด้วยการพิสูจน์ได้ ซึ่งปกติบรรดาอาริฟ (ผู้บรรลุญาณ) จะใช้หนทางนี้ทำการรู้จักพระเจ้า[1]

อีกนัยหนึ่ง สามารถแบ่งได้ว่า การรู้จักนั้น อาจได้มาด้วยความรู้ประจักษ์ การรู้เอง และการสำนึก

การรู้จักโดย ความรู้ประจักษ์ จะได้รับมาโดยผ่านสติปัญญา ประกอบกับการพิจารณาดูข้อพิสูจน์ของสติปัญญา และปรัชญา ส่วนการรู้เอง หมายถึงความรู้ที่ได้รับมาโดยปราศจากสื่อกลาง ซึ่งความเข้าใจและองค์รูปทางปัญญา อันถือว่าเป็นความจริงแท้ขององค์ความรู้นั้น ได้ปรากฏอยู่ในการรับรู้ของบุคคลนั้นโดยอัตโนมัติ การรู้จักแบบรู้เอง เป็นการรู้ในเชิงรหัสยลัทธิ หรือประจักษ์แจ้งเอง ซึ่งความเป็นจริงอัตนัยของสิ่งนั้นได้เป็นที่ประจักษ์แจ้งสำหรับตน

แน่นอนว่า การรู้จักในเชิงประจักษ์หรือผลสัมฤทธิ์นั้น สามารถใช้ประโยชน์จากพิชานและการทดลองได้ เช่น ผ่านขบวนการคิดในสัญญาณต่างๆ ของพระเจ้า หรือระบบระเบียบต่างๆ ที่มีอยู่ในโลกนี้มารู้จักพระเจ้า โดยได้รับความจริงผ่านทฤษฎีง่ายๆ ตามลำดับ แต่ในกรณีที่ตนเองต้องการที่จะให้เกิดความเข้าใจมากหรือลึกซึ้งไปกว่านั้น จำเป็นต้องอาศัยบทนำของสติปัญญาเพียงอย่างเดียว

อย่างไรก็ตามต้องพิจารณาโดยละเอียด ประการแรก : บนพื้นฐานของการวิจัยหรือการทดลองหรือการใช้หลักวิทยาศาสตร์ทดลองนั้นไม่สามารถพิสูจน์หรือปฏิเสธพระเจ้าได้[2] เนื่องจากประสบการณ์ทางประสาทสัมผัส จะสั้นเกินกว่าที่จะรู้จักสิ่งที่อยู่นอกเหนือธรรมชาติได้. ดังนั้น ความรู้ทางประสาทสัมผัสเพียงอย่างเดียวไม่กว้างขวางนัก ทว่ามีความจำเป็นที่จะต้องบรรจุไว้ในปฐมบทของการพิสูจน์

ประการที่สอง : ถึงแม้ว่าในตัวบทของศาสนาอิสลามจะแนะนำให้ศึกษาโองการและสัญลักษณ์ต่างๆก็ตาม[3] เนื่องจากการพิสูจน์ด้วยวิธีการนี้ จัดว่าเป็นการรู้จักในเชิงของเหตุผลทางปัญญา, แต่ในจุดนี้จะต้องไม

แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น
จำนวนความเห็น 0
กรุณาป้อนค่า
ตัวอย่าง : Yourname@YourDomane.ext
กรุณาป้อนค่า
<< ลากฉัน
กรุณากรอกจำนวนที่ถูกต้องของ รหัสรักษาความปลอดภัย

คำถามสุ่ม

  • โองการกุรอานกล่าวถึงประวัติและความสำคัญของประวัติศาสตร์นิพนธ์ไว้หรือไม่?
    6645 วิทยาการกุรอาน 2555/03/18
    ส่วนสำคัญของประวัติศาสตร์ก็คือ “การเล่าความหลัง” ซึ่งกุรอานได้ใช้สิ่งนี้ในการนำเสนอหลักคำสอนในโอกาสต่างๆ เรื่องราวที่กุรอานเน้นเป็นพิเศษก็คือเรื่องราวของบรรดาศาสนทูต ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 1. نَقُصُّ عَلَيْكَ مِنْ أَنْباءِ الرُّسُل เราจะเล่าเรื่องราวของเหล่าศาสนทูตให้เจ้าฟัง[i] 2. وَ لَقَدْ أَرْسَلْنا رُسُلاً مِنْ قَبْلِكَ مِنْهُمْ مَنْ قَصَصْنا عَلَيْكَ وَ مِنْهُمْ مَنْ لَمْ نَقْصُصْ عَلَيْك เราได้ส่งศาสนทูตก่อนหน้าเจ้า ได้เล่าเรื่องราวของพวกเขาบางคน และมิได้เล่าเรื่องราวของบางคน[ii] 3. وَ رُسُلاً قَدْ قَصَصْناهُمْ عَلَيْكَ ...
  • ฏอยยุลอัรฎ์คืออะไร?
    6368 รหัสยทฤษฎี 2554/06/11
    ทักษะพิเศษดังกล่าวมีการอธิบายที่หลากหลายอาทิเช่นทฤษฎี “สูญสลายและจุติ”ที่นำเสนอโดยอิบนิอะเราะบีทฤษฎีดังกล่าวเชื่อว่าผู้ที่มีทักษะฏอยยุลอัรฎ์สามารถสูญสลายจากสถานที่หนึ่งและจุติขึ้นณจุดหมายปลายทางได้. แต่อีกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่าฏอยยุลอัรฎ์คือพลวัตความเร็วสูงของร่างกายภายใต้แรงขับเคลื่อนของจิตวิญญาณอันทรงพลัง.แต่แม้เราจะยอมรับทฤษฎีใดก็ตามข้อเท็จจริงก็คือบุคคลทั่วไปไม่สามารถมีทักษะพิเศษนี้ได้นอกจากเอาลิยาอ์ของอัลลอฮ์เท่านั้น. ...
  • มีฮะดีษอยู่บทหนึ่งระบุว่าอัลลอฮ์ทรงยกย่องความบริสุทธิ์ของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ด้วยการไม่ปล่อยให้ลูกหลานของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ตกนรก
    6367 ดิรอยะตุลฮะดีซ 2555/01/19
    ฮะดีษนี้ปรากฏอยู่ในตำราฝ่ายซุนหนี่และชีอะฮ์โดยมีความน่าเชื่อถือสูงเนื่องจากมีหลากสายรายงานแต่คำถามที่มีมาตั้งแต่อดีตก็คือความหมายของลูกหลานในฮะดีษนี้ครอบคลุมเพียงใด? เมื่อพิจารณาเทียบกับฮะดีษอื่นๆก็จะเข้าใจได้ว่าฮะดีษนี้เจาะจงเฉพาะบุตรชั้นแรกของท่านหญิงฟาฏิมะฮ์(อ.)เท่านั้นที่ได้รับความเมตตาให้มีภาวะปลอดบาปอันเป็นการสมนาคุณแด่การสงวนตนของท่านหญิงทว่าลูกหลานชั้นต่อๆไปแม้จะได้รับสิทธิบางอย่างแต่จะไม่ได้รับความปลอดภัยจากการลงทัณฑ์อย่างสมบูรณ์ ...
  • ชาวสวรรค์และชาวนรกมีอายุราวๆกี่ปี?
    15429 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/19
    ความเปลี่ยนแปลงทางสรีระตามอายุขัยถือเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับโลกนี้ ทว่าในโลกหน้าโดยเฉพาะในสวรรค์ เราไม่อาจจะมโนภาพว่ามนุษย์จะมีรูปร่างหน้าตาที่แตกต่างกันในลักษณะที่บางกลุ่มเป็นเด็ก บางกลุ่มอยู่ในวัยกลางคน บางกลุ่มเป็นคนชราได้ แม้สมมุติว่าเราจะเชื่อว่าโลกหน้ายังเป็นโลกแห่งวัตถุ แต่ความแตกต่างในแง่อายุขัยอย่างที่เราเคยชินในโลกนี้ย่อมไม่เกิดขึ้นในโลกหน้าอย่างแน่นอน มีฮะดีษระบุว่าผู้ที่จะเข้าสรวงสวรรค์จะกลายเป็นวัยรุ่นที่มีรูปลักษณ์อันงดงาม یدخلون الجنة شبابا منورین و قال إن أهل الجنة جرد مرد مکحلون
  • เราสามารถกล่าวคุฏบะฮ์นมาซวันศุกร์ก่อนเวลาอะซานหรือไม่? หรือจำเป็นหรือไม่ที่จะกล่าวอะซานระหว่างสองคุฏบะฮ์
    5856 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/03
    คำถามของคุณไม่ชัดเจนนัก ทำให้สามารถแบ่งคำถามนี้ได้เป็น 2 คำถาม แต่คาดว่าคำถามของคุณน่าจะหมายถึงข้อที่หนึ่งดังต่อไปนี้1. จำเป็นหรือไม่ที่จะต้องกล่าวหนึ่งในสองของคุฏบะฮ์นมาซวันศุกร์ก่อนถึงเวลาอะซาน(เวลาที่ตะวันเริ่มคล้อยลง) หรือสามารถกล่าวคุฏบะฮ์ทั้งสองก่อนหรือหลังอะซานก็ได้?
  • มีรายงานฮะดีซจากท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อล ฯ) เกี่ยวกับการถือศีลอดในวันอาชูรอหรือไม่? และศีลอดนี้ถือเป็นศีลอดมุสตะฮับด้วยหรือไม่?
    6716 สิทธิและกฎหมาย 2554/12/20
    ตาราฮะดีซที่เชื่อถือได้ของฝ่ายชีอะฮฺ, ไม่มีรายงานฮะดีซทำนองนี้ปรากฏให้เห็นทีว่าท่านศาสดามุฮัมมัด (ซ็อลฯ) กล่าวว่า, การถือศีลอดในวันอาชูรอเป็นมุสตะฮับ,
  • การสักร่างกายถือว่าเป็นฮะรอมหรือไม่?
    5892 สิทธิและกฎหมาย 2555/02/09
     คำตอบของอายาตุลลอฮ์มะฮ์ดีฮาดาวีเตหะรานี“หากไม่เป็นอันตรายต่อร่างกายและไม่ถือว่าเป็นที่น่ารังเกียจอีกทั้งไม่ทำให้ภาพพจน์ของบุคคลดังกล่าวตกต่ำลงถือว่าไม่เป็นไรคำถามนี้ไม่มีคำตอบเชิงรายละเอียด ...
  • จะทำอิบาดะฮ์ทั้งที่มีงานประจำล้นมือได้อย่างไร?
    7327 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/08/14
    เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ชัดเจนยิ่งขึ้นควรคำนึงถึงสาระสำคัญต่อไปนี้1. อิบาดะฮ์หมายถึงการจำนนต่ออัลลอฮ์และปฏิบัติตามคำบัญชาของพระองค์[i]แม้ว่านมาซจะถือเป็นอิบาดะฮ์ขั้นสูงแต่ก็ไม่ได้หมายความว่าอิบาดะฮ์จะต้องเป็นนมาซหรือดุอาเสมอไปฉะนั้นผู้ที่ปฏิบัติตามคำสั่งของพระองค์ล้วนกำลังทำอิบาดะฮ์อยู่ทั้งสิ้น2. การแสวงหาริซกีฮะล้าลหมายถึงการเพียรพยายามหาเลี้ยงชีพอย่างสอดคล้องกับบทบัญญัติศาสนาแน่นอนว่าไม่จำเป็นจะต้องเป็นงานที่ใช้แรงงานเพียงอย่างเดียวแต่รวมถึงงานที่ใช้ทักษะความคิดเช่นงานของวิศวกรแพทย์ฯลฯด้วยซึ่งหากเป็นไปตามกฏและบทบัญญัติศาสนาก็ถือว่ากำลังแสวงหาริซกีฮะล้าลทั้งสิ้น3. หากไม่ไช่การประชดประชันถ้าเป็นอย่างที่คุณบอกว่าทำงานตั้งแต่ตีสี่ครึ่งถึงเที่ยงคืน
  • บาปใหญ่จะได้รับการอภัยหรือไม่?
    16698 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/21
    บาปใหญ่คือบาปประเภทที่กุรอานหรือบทฮะดีษแจ้งว่าจะต้องถูกสำเร็จโทษ(แต่ก็ยังมีสิ่งชี้วัดอื่นๆที่บ่งบอกถึงบาปใหญ่) ทั้งนี้การฝืนกระทำบาปเล็กซ้ำหลายครั้งก็ทำให้บาปเล็กกลายเป็นบาปใหญ่ได้เช่นกันอย่างไรก็ดีอัลลอฮ์ได้ทรงให้สัญญาในกุรอานว่าจะทรงอภัยโทษบาปทุกประเภทโดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องเตาบะฮ์อย่างถูกต้องเสียก่อนเตาบะฮ์ในกรณีสิทธิของอัลลอฮ์หมายถึงการชดเชยอะมั้ลอิบาดะฮ์ที่เคยงดเว้นประกอบกับการกล่าวอิสติฆฟารอย่างบริสุทธิใจส่วนเตาบะฮ์ในกรณีสิทธิของมนุษย์หมายถึงการกล่าวอิสติฆฟารคืนสิทธิแก่ผู้เสียหายและขอให้คู่กรณียกโทษให้ ...
  • ได้ยินว่าผู้บริจาคเศาะดะเกาะฮ์จะพ้นจากภยันตรายต่างๆ ถามว่าผู้รับเศาะดะเกาะฮ์จะประสบกับภยันตรายเหล่านั้นแทนหรือไม่?
    10373 بیشتر بدانیم 2557/02/12
    “เศาะดะเกาะฮ์” ในแง่ภาษาอรับแล้ว ถือเป็นอาการนาม ให้ความหมายว่า “การมอบให้เพื่อจะได้รับผลบุญ” และมีรากศัพท์จากคำว่า “ศิดกุน” พหูพจน์ของเศาะดะเกาะฮ์คือ “เศาะดะกอต” [1] นิยามของเศาะดะเกาะฮ์ เศาะดะเกาะฮ์หมายถึง สิ่งที่บุคคลมอบให้ผู้ขัดสน ผู้ยากไร้ เพื่ออัลลอฮ์ อันเป็นการพิสูจน์ความจริงใจในแนวทางของพระองค์[2] บทบัญญัติเกี่ยวกับเศาะดะเกาะฮ์ และผลบุญที่จะได้รับ อิสลามมีบทบัญญัติเกี่ยวกับเศาะดะเกาะฮ์สองประเภทด้วยกัน 1. เศาะดะเกาะฮ์ภาคบังคับ (วาญิบ) ซึ่งก็หมายถึง “ซะกาต” นั่นเอง ดังโองการที่กล่าวว่า خُذْ مِنْ أَمْوَالِهِمْ صَدَقَةً تُطَهِّرُهُمْ وَ تُزَکِّیهِمْ بِهَا وَ صَلِّ عَلَیْهِمْ إِنَّ صَلاَتَکَ سَکَنٌ ...

เนื้อหาที่มีผู้อ่านมากที่สุด

  • อะไรคือหน้าที่ๆภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีบ้าง?
    59399 สิทธิและกฎหมาย 2554/07/07
    ความมั่นคงของชีวิตคู่ขึ้นอยู่กับความรักความผูกพัน ความเข้าใจ การให้เกียรติและเคารพสิทธิของกันและกัน และเพื่อที่สถาบันครอบครัวจะยังคงมั่นคงเป็นปึกแผ่น อิสลามจึงได้ระบุถึงสิทธิของทั้งภรรยาและสามี ขณะเดียวกันก็ได้กำหนดหน้าที่สำหรับทั้งสองฝ่ายไว้ด้วย เนื่องจากเมื่ออัลลอฮ์ประทานสิทธิ ก็มักจะกำหนดหน้าที่กำกับไว้ด้วยเสมอ ข้อเขียนนี้จะนำเสนอหน้าที่ทางศาสนาบางส่วนที่ภรรยาพึงปฏิบัติต่อสามีดังต่อไปนี้:1. ...
  • ดุอาใดบ้างที่ทำให้ได้รับพรเร็วที่สุด?
    56850 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/07/03
    มีดุอาที่รายงานจากอิมาม(อ.)หลายบทที่กล่าวขานกันว่าเห็นผลตอบรับอย่างรวดเร็ว แต่เนื่องจากไม่สามารถนำเสนอเนื้อหาดุอาทั้งหมด ณ ที่นี้ได้ จึงขอกล่าวเพียงชื่อดุอาที่มีความสำคัญเป็นพิเศษดังต่อไปนี้1. ดุอาตะวัซซุ้ล2. ดุอาฟะร็อจ
  • กรุณานำเสนอบทดุอาเพื่อให้ได้พบคู่ครองที่เหมาะสมและเปี่ยมด้วยตักวา
    41680 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/06/12
    ทุกสิ่งทุกอย่างย่อมมีปัจจัยและเงื่อนไขจำเพาะตามที่พระเจ้าทรงกำหนดหากเราประสงค์สิ่งใดย่อมต้องเริ่มจากการตระเตรียมปัจจัยและเงื่อนไขเสียก่อนปัจจัยของการแต่งงานคือการเสาะหาและศึกษาอย่างละเอียดทว่าเพื่อความสัมฤทธิ์ผลในการดังกล่าวจำเป็นต้องขอความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์เพื่อทรงชี้นำการตัดสินใจและความพยายามของเราให้บรรลุดังใจหมาย.การอ่านบทดุอาต่างๆที่รายงานจากบรรดาอิมาม(อ)ต้องควบคู่กับความพยายามศึกษาและเสาะหาคู่ครองอย่างถี่ถ้วน. หนึ่งในดุอาที่เกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะก็คือรายงานที่ตกทอดมาจากท่านอลี(อ)ดังต่อไปนี้: “ผู้ใดประสงค์จะมีคู่ครอง
  • ด้วยเหตุผลอันใดที่ต้องกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อน บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม?
    38434 วิทยาการกุรอาน 2555/08/22
    หนึ่งในมารยาทของการอ่านอัลกุรอาน ซึ่งมีกล่าวไว้ในอัลกุรอาน และรายงานฮะดีซคือ การกล่าว อะอูซุบิลลาฮิ มินัชชัยฏอน นิรเราะญีม ก่อนที่จะเริ่มอ่านอัลกุรอาน หรือแม้แต่ให้กล่าวก่อนที่จะกล่าว บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม เสียด้วยซ้ำไป ด้วยเหตุผลที่ว่า บิซมิลลาฮิรเราะฮฺมานนิรเราะฮีม นั้นเป็นส่วนหนึ่งของอัลกุรอาน อย่างไรก็ตามการขอความคุ้มครองจากอัลลอฮฺ มิใช่แค่เป็นเพียงคำพูดเท่านั้น ทว่าสิ่งนี้จะต้องฝังลึกอยู่ภายในจิตวิญญาณของเรา ซึ่งต้องสำนึกสิ่งนี้อยู่เสมอตลอดการอ่านอัลกุรอาน ...
  • ครูบาอาจารย์และลูกศิษย์(นักเรียนนักศึกษา)มีหน้าที่ต่อกันอย่างไร?
    38433 จริยธรรมปฏิบัติ 2554/11/14
    ผู้สอนและผู้เรียนมีหน้าที่ต่อกันหลายประการด้วยกันซึ่งสามารถจำแนกออกเป็นสองส่วนก. หน้าที่ที่ผู้สอนมีต่อผู้เรียนอันประกอบด้วยหน้าที่ทางจริยธรรมการอบรมและวิชาการ ข. หน้าที่ที่ผู้เรียนมีต่อผู้สอนอาทิเช่นการให้เกียรติครูบาอาจารย์ยกย่องวิทยฐานะของท่านนอบน้อมถ่อมตน ...ฯลฯ ...
  • ก่อนการสร้างนบีอาดัม(อ) เคยมีการแต่งตั้งญินให้เป็นศาสนทูตสำหรับฝ่ายญินหรือไม่?
    33459 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/06/12
    อัลกุรอานยืนยันการมีอยู่ของเหล่าญินรวมทั้งได้อธิบายคุณลักษณะบางประการไว้ถึงแม้ว่าข้อมูลของเราเกี่ยวกับโลกของญินจะค่อนข้างจำกัดแต่เราสามารถพิสูจน์ว่าเหล่าญินเคยมีศาสนทูตที่เป็นญินก่อนการสร้างนบีอาดัมโดยอาศัยเหตุผลต่อไปนี้:1. เหล่าญินล้วนมีหน้าที่ทางศาสนาเฉกเช่นมนุษย์เราแน่นอนว่าหน้าที่ทางศาสนาย่อมเป็นผลต่อเนื่องจากการสั่งสอนศาสนาด้วยเหตุนี้จึงมั่นใจได้ว่าอัลลอฮ์ทรงเคยแต่งตั้งศาสนทูตสำหรับกลุ่มชนญินเพื่อการนี้2. เหล่าญินล้วนต้องเข้าสู่กระบวนการพิพากษาในวันกิยามะฮ์เฉกเช่นมนุษย์เราซึ่งโดยทั่วไปแล้วก่อนกระบวนการพิพากษาทุกกรณีจะต้องมีการชี้แจงข้อกฏหมายจนหมดข้อสงสัยเสียก่อนและการชี้แจงให้หมดข้อสงสัยคือหน้าที่ของบรรดาศาสนทูตนั่นเอง
  • เนื่องจากอัลลอฮฺทรงรอบรู้เหนือโลกและจักรวาล ฉะนั้น วัตถุประสงค์การทดสอบของอัลลอฮฺคืออะไร?
    27546 เทววิทยาดั้งเดิม 2554/03/08
    ดังที่ปรากฏในคำถามว่าการทดสอบของอัลลอฮฺไม่ได้เพื่อการค้นหาสิ่งที่ยังไม่รู้เนื่องจากอัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงปรีชาญาณเหนือทุกสรรพสิ่งแต่อัลกุรอานหลายโองการและรายงานที่ตกมาถึงมือเรากล่าวว่าการทดสอบเป็นแบบฉบับหนึ่งและเป็นกฎเกณฑ์ของพระเจ้าที่วางอยู่บนแบบฉบับอื่นๆอันได้แก่การอบบรมสั่งสอนการชี้นำโดยรวมของพระเจ้าอัลลอฮฺ
  • ปีศาจ (ซาตาน) มาจากหมู่มะลาอิกะฮฺหรือญิน ?
    27245 การตีความ (ตัฟซีร) 2553/12/22
    เกี่ยวกับคำถามที่ว่าชัยฎอนเป็นมะลาอิกะฮฺหรือญินมีมุมมองและทัศนะแตกต่างกันแหล่งที่มาของความขัดแย้งนี้เกิดจากเรื่องราวการสร้างนบีอาดัม (อ.) เนื่องจากเป็นคำสั่งของพระเจ้ามวลมะลาอิกะฮ์ทั้งหลายจึงได้กราบสุญูดอาดัมแต่ซาตานไม่ได้ก้มกราบบางคนกล่าวว่าชัยฎอน (อิบลิส) เป็นมะลาอิกะฮฺ, โดยอ้างเหตุผลว่าเนื่องจากโองการอัลกุรอานกล่าวละเว้น, อิบลิสไว้ในหมู่ของมะลาอิกะฮฺ (มะลาอิกะฮ์ทั้งหมดลดลงกราบยกเว้นอิบลิส) ดังนั้นอิบลิส
  • อายะฮ์ إِذا مَا اتَّقَوْا وَ آمَنُوا وَ عَمِلُوا الصَّالِحاتِ ثُمَّ اتَّقَوْا وَ آمَنُوا ثُمَّ اتَّقَوْا وَ أَحْسَنُوا وَ اللَّهُ یُحِبُّ الْمُحْسِنین การกล่าวซ้ำดังกล่าวมีจุดประสงค์ใด?
    27148 การตีความ (ตัฟซีร) 2555/02/07
    ในแวดวงวิชาการมีความเห็นแตกต่างกันในเรื่องการย้ำคำว่าตักวาในโองการข้างต้นบ้างเชื่อว่ามีจุดประสงค์เพื่อให้เล็งเห็นความสำคัญของประเด็นเกี่ยวกับตักวาอีหม่านและอะมั้ลที่ศอลิห์
  • เมื่ออัลลอฮฺ มิทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลายจากสิ่งใดทั้งหมด, หมายความว่าอำนาจของพระองค์ได้ถ่ายโอนไปสู่วัตถุปัจจัยกระนั้นหรือ?
    25222 รหัสยทฤษฎี 2555/05/17
    ใช่แล้ว การสร้างจากสิ่งไม่มีตัวตนมีความหมายตามกล่าวมา, เนื่องจากคำว่า ไม่มีตัวตน คือไม่มีอยู่ก่อนจนกระทั่งอัลลอฮฺ ทรงสร้างสิ่งนั้นขึ้นมา รายงานฮะดีซก็กล่าวถึงประเด็นนี้ไว้เช่นกันว่า อำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า มีความเป็นหนึ่งเดียวกันกับคุณลักษณะอื่นของพระองค์ ซึ่งเกินเลยอำนาจความรอบรู้ของมนุษย์ เนื่องจากสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลายได้ถูกสร้างขึ้นมา จากสิ่งไม่มี ซึ่งตามความเป็นจริงแล้วสรรพสิ่งถูกสร้างทั้งหลาย เปรียบเสมือนภาพที่ถ่ายโอนอำนาจสัมบูรณ์ของพระเจ้า เราเรียกนิยามนี้ว่า “การสะท้อนภาพ”[1]ซึ่งในรายงานฮะดีซได้ใช้คำว่า “การเกิดขึ้นของคุณลักษณะ” : อัลลอฮฺ (ซบ.) ทรงเป็นพระผู้อภิบาลของเราที่มีความเป็นนิรันดร์ ความรอบรู้คือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีความรอบรู้อันใด การได้ยินคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการได้ยินใดๆ การมองเห็นคือ อาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีการมองเห็นอันใด อำนาจคืออาตมันของพระองค์ ขณะที่ไม่มีอำนาจอันใด และเนื่องจากพระองค์คือ ผู้ทรงสร้างสรรพสิ่งทั้งหลาย ทำให้สิ่งเหล่านั้นมีและเป็นไป ความรู้ของพระองค์ได้ปรากฏบนสิ่งถูกรู้จักทั้งหลาย การได้ยิน ได้ปรากฏบนสิ่งที่ได้ยินทั้งหลาย การมองเห็นได้ปรากฏบนสิ่งมองเห็น และอำนาจของพระองค์ ...