Please Wait
ผู้เยี่ยมชม
3817
3817
อัปเดตเกี่ยวกับ:
2562/06/12
คำถามอย่างย่อ
ปีจันทรคติมีกี่วัน? จำนวนวันในหนึ่งปีจันทรคติ กับปีจันทรคติอื่นแตกต่างกันไหม? กรณีที่แตกต่างต้องทำอย่างไร?
คำถาม
ปีฮิจเราะฮฺศักราชมีกี่วัน? จำนวนวันในหนึ่งปีจันทรคติ กับปีจันทรคติอื่นแตกต่างกันไหม? กรณีที่แตกต่างต้องทำอย่างไร?
คำตอบโดยสังเขป
จำนวนวันของปีจันทรคตินั้นเท่ากัน ซึ่งโดยละเอียดแล้วมีจำนวน 29 วัน 12 ชั่วโมง 44 นาที และ 3 วินาที หรือ 29/53059028 วัน
ทำนองเดียวกันจำนวนวันของปี ฮิจญฺเราะฮฺ เท่ากัน ซึ่งจำนวน 12 เดือน เท่ากับ 354/3670834 วัน แต่บรรดานักดาราศาสตร์ จำเป็นต้องกล่าวถึงจำนวนวันที่ถูกต้องของแต่ละเดือน (มิใช่เหลือเศษจากการคำนวณ) ซึ่งสิ่งนี้มีผลต่อคำนวณและการกำหนดปฏิทิน เพราะการกำหนดวันที่นั้นนักดาราศาสตร์ไม่สามารถ นำเอาเศษครึ่งวัน ของวันที่ 30 ของเดือนที่แล้ว หรือเอาครึ่งวันของวันที่ 30 ของเดือนนี้ไปสมทบกับเดือนหน้า, ดังนั้น เมื่อไม่มีทางเลือกอื่นเดือนจันทรคติอย่างน้อยต้องมี 29 วัน และอย่างมากมี 30 วัน ด้วยเหตุนี้เองนักดาราศาสตร์ จึงยอมรับการคำนวณเดือนจันทรคติในสองลักษณะดังนี้ กล่าวคือ (เดือนที่คิดตามการคำนวณ และเดือนที่มองเห็นจันทร์เสี้ยว) แต่เนื่องจากจำนวนวันของเดือน และปี มิได้มีจำนวนเดียว และในทัศนะของนิติศาสตร์อิสลาม เดือนที่เกิดจากการคำนวณไม่เป็นที่เชื่อถือ, และถือเป็นธรรมชาติที่ว่าการมองเห็น และไม่เห็นเดือนเสี้ยวย่อมมีความขัดแย้งกัน นับตั้งแต่อดีตผ่านมา และจะถูกแก้ไขในเดือนต่อๆ ไป และในบางครั้งการมองเห็นจันทร์เสี้ยวของเดือนใหม่ ก็ได้รับการแก้ไขโดยฮากิมชัรอ์
ทำนองเดียวกันจำนวนวันของปี ฮิจญฺเราะฮฺ เท่ากัน ซึ่งจำนวน 12 เดือน เท่ากับ 354/3670834 วัน แต่บรรดานักดาราศาสตร์ จำเป็นต้องกล่าวถึงจำนวนวันที่ถูกต้องของแต่ละเดือน (มิใช่เหลือเศษจากการคำนวณ) ซึ่งสิ่งนี้มีผลต่อคำนวณและการกำหนดปฏิทิน เพราะการกำหนดวันที่นั้นนักดาราศาสตร์ไม่สามารถ นำเอาเศษครึ่งวัน ของวันที่ 30 ของเดือนที่แล้ว หรือเอาครึ่งวันของวันที่ 30 ของเดือนนี้ไปสมทบกับเดือนหน้า, ดังนั้น เมื่อไม่มีทางเลือกอื่นเดือนจันทรคติอย่างน้อยต้องมี 29 วัน และอย่างมากมี 30 วัน ด้วยเหตุนี้เองนักดาราศาสตร์ จึงยอมรับการคำนวณเดือนจันทรคติในสองลักษณะดังนี้ กล่าวคือ (เดือนที่คิดตามการคำนวณ และเดือนที่มองเห็นจันทร์เสี้ยว) แต่เนื่องจากจำนวนวันของเดือน และปี มิได้มีจำนวนเดียว และในทัศนะของนิติศาสตร์อิสลาม เดือนที่เกิดจากการคำนวณไม่เป็นที่เชื่อถือ, และถือเป็นธรรมชาติที่ว่าการมองเห็น และไม่เห็นเดือนเสี้ยวย่อมมีความขัดแย้งกัน นับตั้งแต่อดีตผ่านมา และจะถูกแก้ไขในเดือนต่อๆ ไป และในบางครั้งการมองเห็นจันทร์เสี้ยวของเดือนใหม่ ก็ได้รับการแก้ไขโดยฮากิมชัรอ์
คำตอบเชิงรายละเอียด
วันต่างๆ ของเดือนจันทรคติทั้งหมดจะมีจำนวนเท่ากันคือ 29 วัน 12 ชั่วโมง 44 นาที และ 3 วินาที หรือประมาณ 29/53059028 วัน หรือทำนองเดียวกันจำนวนวันของปี ฮิจญฺเราะฮฺ จะมีจำนวนเท่ากัน ซึ่งจำนวน 12 เดือน เท่ากับ 354/3670834 วัน แต่เพื่อง่ายต่อการคำนวณ ทุกๆ ปีของปีจันทรคติจะให้วันเพียง 354 วัน เนื่องจากในรอบ 1 ปี จะมีเดือนจำนวน 30 วันอยู่ 6 เดือน และ 29 วันอยู่ 6 เดือน
และจะมีการทดแทนเศษที่ขาดหายไป, ในรอบทุกๆ 3 ปี โดยจะเพิ่มจำนวนวันเข้าไป 1 วัน, หมายถึง ปีที่สามจะมีจำนวนวัน 355 วัน, เนื่องจากนำเอาจำวันเศษคูณกับจำนวน 3 ปี = 3x0/3670834=1/101 วัน
สิ่งสำคัญที่ได้รับจากการคำนวณดังกล่าว และต้องไม่ลืมคือ »กฎเกณฑ์ของหนึ่งในระหว่างนั้น« กล่าวคือ ปีทางจันทรคตินั้น เดือนต่างๆ จะมีจำนวนวันอยู่ระหว่าง 29 และ 30 วัน
ด้วยการคำนวณดังกล่าวนี้ บางครั้งก็เกิดความผิดพลาด หรือความขัดแย้งในการเริ่มต้นของเดือน หรือปีใหม่ ซึ่งปัจจัยสำคัญของความผิดพลาด หรือความขัดแย้งนั้นคือ การไม่ใส่ใจต่อกฎเกณฑ์ที่ว่า »หนึ่งในระหว่างนั้น«
แต่บรรดานักดาราศาสตร์ จำเป็นต้องกล่าวถึงจำนวนวันที่ถูกต้องของแต่ละเดือน (มิใช่เหลือเศษจากการคำนวณ) ซึ่งสิ่งนี้มีผลต่อคำนวณและการกำหนดปฏิทิน เพราะการกำหนดวันที่นั้นนักดาราศาสตร์ไม่สามารถ นำเอาเศษครึ่งวัน ของวันที่ 30 ของเดือนที่แล้ว หรือเอาครึ่งวันของวันที่ 30 ของเดือนนี้ไปสมทบกับเดือนหน้า, ดังนั้น เมื่อไม่มีทางเลือกอื่นเดือนจันทรคติอย่างน้อยต้องมี 29 วัน และอย่างมากมี 30 วัน ด้วยเหตุนี้เองนักดาราศาสตร์ จึงยอมรับการคำนวณเดือนจันทรคติในสองลักษณะดังนี้ กล่าวคือ
1.เดือนที่เกิดจากการคำนวณ
2. เดือนที่เกิดจากการมองเห็นจันทร์เสี้ยว
สำหรับการคำนวณเดือน, นักดาราศาสตร์จะสร้างตารางรายละเอียดขึ้นมา ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนของดวงจันทร์ ตามกฎเกณฑ์ของดาราศาสตร์ ซึ่งจำนวนของเดือน และปีต่างๆ และการกำหนดต้นเดือนและต้นปี ทั้งหมดเป็นไปตามกฎการโคจรของดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ และดวงดาวต่างๆ เพื่อให้ได้รับกฎทั่วๆ ไปประการหนึ่ง แต่มิใช่เป็นไปตามการเคลื่อนของเวลาและแสงแดด แต่ถือเป็นกฎการขับเคลื่อนของดวงจันทร์กับแสงอาทิตย์ ดังนั้น ช่วงเวลาของการโคจรของดวงจันทร์ (นับจากเวลาที่ทั้งสองได้มารวมกัน จนกระทั่งมาบรรจบกันอีกครั้งหนึ่ง) เป็นเวลา 29 วัน 12 ชั่วโมง 44 นาที ซึ่งนักดาราศาสตร์ต่างยอมรับว่า ช่วงเวลาบรรจบกันระหว่างดวงจันทร์กับแสงแด จะไม่มีโอกาสมองเห็นจันทร์เสี้ยวเด็ดขาด ดังนั้น ผลของการคำนวณตามตารางของนักดาราศาสตร์ จะเป็นเช่นนี้
เนื่องจากระยะเวลา 1 เดือน, จะมีเศษเวลา 12 ชั่วโมง 44 นาที ซึ่งมากกว่าจำนวน 29 วัน ดังนั้น จำนวนดังกล่าวนี้จะเห็นว่าเมื่อนับ 2 เดือนติดต่อกัน จะมีจำนวนเวลามากกว่า 1 วัน แต่จะนับเท่ากับ 1 วันเต็ม ดังนั้น 1 เดือนจึงมี 30 วันเต็ม ส่วนอีกเดือนจะถือว่าเป็นเดือนขาด ซึ่งมี 29 วัน เพื่อจะได้ไปทดแทนเดือนขาดก่อนหน้านี้ กล่าวคือตามความเป็นจริงแล้ว 12 ชั่วโมงของเดือนนี้ จะนำไปบวกกับ 12 ชั่วโมงของเดือนหน้า และนับเป็น 1 วันเต็ม บวกให้กับเดือนก่อนหน้า แต่เนื่องจากปีทางจันทรคติ เริ่มนับจากเดือนมุฮัรรอม ด้วยเหตุนี้เอง เดือนมุฮัรรัม จึงมี 30 วัน ส่วนเดือนซิลฮิจญฺจะมี 29 วัน
แต่จุดประสงค์ของเดือนที่เกิดจากการมองเห็นจันทร์เสี้ยว, หมายถึงเดือนที่เกิดจากการมองเห็นจันทร์เสี้ยวด้วยตา ซึ่งเดือนตามบทบัญญัติของอิสลามก็คำนวณเช่นนี้ บรรดานักปราชญ์อิสลาม (ฟุเกาะฮา) ผู้ยิ่งใหญ่จะถือว่าระยะเวลา 1 เดือน เกิดจากการมองเห็นดวงจันทร์ของเดือนนี้ จนกระทั่งเห็นดวงจันทร์อีกครั้งหนึ่งในเดือนต่อไป ซึ่งจะไม่เกิดจากการคำนวณนับวันตามตารางตามที่กล่าวมา ซึ่งอาจมี 29 หรือ 30 วัน
ด้วยเหตุนี้เอง จึงกล่าวว่าเดือนที่เกิดจากการมองเห็นดวงจันทร์นั้น, เป็นผลเกิดจากการขับเคลื่อนที่ผันผวนเล็กน้อยในเดือน ซึ่งเป็นไปได้ว่าช่วงสองสามเดือนติดต่อกัน (มากสุด 4 เดือน) จะมี 30 วัน และช่วง 3 เดือนติดต่อกันจะมีจำนวนวันเพียง 29 วัน
ดังนั้น บรรดาฟุเกาะฮาผู้ยิ่งใหญ่ฝ่ายชีอะฮฺ ไม่ยอมรับการคำนวณวันของนักดาราศาสตร์ด้วย 2 เหตุผลดังนี้ .
หนึ่ง : เนื่องจากโดยหลักการทางชัรอียฺแล้ว ไม่มีเหตุผลหน้าเชื่อถือเกี่ยวกับ ตารางดาราศาสตร์ ทว่าตามหลักชัรอียฺมีเหตุผลขัดแย้งกับสิ่งนั้น เช่น รายงานหนึ่งกล่าวว่า "صم للرؤیه و افطر للرؤیه" เมื่อเห็นดวงจันทร์เดือนรอมฎอน จงถือศีลอด แต่เมื่อเห็นดวงจันทร์เดือนชะอฺบาน จงอย่าถือศีลอด ทว่าจะละศีลอด”[1]
สอง : ปัญหาที่เกิดจากการคำนวณตามหลักคณิตศาสตร์ของฝ่ายดาราศาสตร์ จะเกิดในปีอธิกสุรทิน (ปีกระโดด) เนื่องจากตามการคำนวณของฝ่ายดาราศาสตร์ ในทุกรอบ 30 ปี 11 ปี จะเป็นปีอธิกสุรทิน ดังนั้น จำเป็นต้องคำนวณให้เดือน ซุลฮิจญฺ ซึ่งตามการคำนวณของพวกเขามีจำนวน 29 วัน แต่ต้องให้ 30 วัน[2]
ด้วยเหตุนี้เอง เนื่องจากจำนวนวันต่างๆ เดือน และปีจึงมีจำนวนไม่แน่นอน ดังนั้น ตามทัศนะของฟิกฮฺ เดือนที่เกิดจากการคำนวณจึงไม่ถูกต้อง บรรดาฟุเกาะฮาจึงเชื่อถือเดือนตามการมองเห็นดวงจันทร์ แต่เนื่องจากความเป็นไปได้ในการมองเห็นดวงจันทร์ ในทุกๆ ที่นั้นมีไม่เท่ากัน ดังนั้น จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่จะต้องมีความคิดเห็นขัดแย้งกัน และในบางครั้งการมองเห็นจันทร์เสี้ยวของเดือนใหม่ ก็ได้รับการแก้ไขโดยฮากิมชัรอ์
และจะมีการทดแทนเศษที่ขาดหายไป, ในรอบทุกๆ 3 ปี โดยจะเพิ่มจำนวนวันเข้าไป 1 วัน, หมายถึง ปีที่สามจะมีจำนวนวัน 355 วัน, เนื่องจากนำเอาจำวันเศษคูณกับจำนวน 3 ปี = 3x0/3670834=1/101 วัน
สิ่งสำคัญที่ได้รับจากการคำนวณดังกล่าว และต้องไม่ลืมคือ »กฎเกณฑ์ของหนึ่งในระหว่างนั้น« กล่าวคือ ปีทางจันทรคตินั้น เดือนต่างๆ จะมีจำนวนวันอยู่ระหว่าง 29 และ 30 วัน
ด้วยการคำนวณดังกล่าวนี้ บางครั้งก็เกิดความผิดพลาด หรือความขัดแย้งในการเริ่มต้นของเดือน หรือปีใหม่ ซึ่งปัจจัยสำคัญของความผิดพลาด หรือความขัดแย้งนั้นคือ การไม่ใส่ใจต่อกฎเกณฑ์ที่ว่า »หนึ่งในระหว่างนั้น«
แต่บรรดานักดาราศาสตร์ จำเป็นต้องกล่าวถึงจำนวนวันที่ถูกต้องของแต่ละเดือน (มิใช่เหลือเศษจากการคำนวณ) ซึ่งสิ่งนี้มีผลต่อคำนวณและการกำหนดปฏิทิน เพราะการกำหนดวันที่นั้นนักดาราศาสตร์ไม่สามารถ นำเอาเศษครึ่งวัน ของวันที่ 30 ของเดือนที่แล้ว หรือเอาครึ่งวันของวันที่ 30 ของเดือนนี้ไปสมทบกับเดือนหน้า, ดังนั้น เมื่อไม่มีทางเลือกอื่นเดือนจันทรคติอย่างน้อยต้องมี 29 วัน และอย่างมากมี 30 วัน ด้วยเหตุนี้เองนักดาราศาสตร์ จึงยอมรับการคำนวณเดือนจันทรคติในสองลักษณะดังนี้ กล่าวคือ
1.เดือนที่เกิดจากการคำนวณ
2. เดือนที่เกิดจากการมองเห็นจันทร์เสี้ยว
สำหรับการคำนวณเดือน, นักดาราศาสตร์จะสร้างตารางรายละเอียดขึ้นมา ซึ่งเกิดจากการเคลื่อนของดวงจันทร์ ตามกฎเกณฑ์ของดาราศาสตร์ ซึ่งจำนวนของเดือน และปีต่างๆ และการกำหนดต้นเดือนและต้นปี ทั้งหมดเป็นไปตามกฎการโคจรของดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ และดวงดาวต่างๆ เพื่อให้ได้รับกฎทั่วๆ ไปประการหนึ่ง แต่มิใช่เป็นไปตามการเคลื่อนของเวลาและแสงแดด แต่ถือเป็นกฎการขับเคลื่อนของดวงจันทร์กับแสงอาทิตย์ ดังนั้น ช่วงเวลาของการโคจรของดวงจันทร์ (นับจากเวลาที่ทั้งสองได้มารวมกัน จนกระทั่งมาบรรจบกันอีกครั้งหนึ่ง) เป็นเวลา 29 วัน 12 ชั่วโมง 44 นาที ซึ่งนักดาราศาสตร์ต่างยอมรับว่า ช่วงเวลาบรรจบกันระหว่างดวงจันทร์กับแสงแด จะไม่มีโอกาสมองเห็นจันทร์เสี้ยวเด็ดขาด ดังนั้น ผลของการคำนวณตามตารางของนักดาราศาสตร์ จะเป็นเช่นนี้
เนื่องจากระยะเวลา 1 เดือน, จะมีเศษเวลา 12 ชั่วโมง 44 นาที ซึ่งมากกว่าจำนวน 29 วัน ดังนั้น จำนวนดังกล่าวนี้จะเห็นว่าเมื่อนับ 2 เดือนติดต่อกัน จะมีจำนวนเวลามากกว่า 1 วัน แต่จะนับเท่ากับ 1 วันเต็ม ดังนั้น 1 เดือนจึงมี 30 วันเต็ม ส่วนอีกเดือนจะถือว่าเป็นเดือนขาด ซึ่งมี 29 วัน เพื่อจะได้ไปทดแทนเดือนขาดก่อนหน้านี้ กล่าวคือตามความเป็นจริงแล้ว 12 ชั่วโมงของเดือนนี้ จะนำไปบวกกับ 12 ชั่วโมงของเดือนหน้า และนับเป็น 1 วันเต็ม บวกให้กับเดือนก่อนหน้า แต่เนื่องจากปีทางจันทรคติ เริ่มนับจากเดือนมุฮัรรอม ด้วยเหตุนี้เอง เดือนมุฮัรรัม จึงมี 30 วัน ส่วนเดือนซิลฮิจญฺจะมี 29 วัน
แต่จุดประสงค์ของเดือนที่เกิดจากการมองเห็นจันทร์เสี้ยว, หมายถึงเดือนที่เกิดจากการมองเห็นจันทร์เสี้ยวด้วยตา ซึ่งเดือนตามบทบัญญัติของอิสลามก็คำนวณเช่นนี้ บรรดานักปราชญ์อิสลาม (ฟุเกาะฮา) ผู้ยิ่งใหญ่จะถือว่าระยะเวลา 1 เดือน เกิดจากการมองเห็นดวงจันทร์ของเดือนนี้ จนกระทั่งเห็นดวงจันทร์อีกครั้งหนึ่งในเดือนต่อไป ซึ่งจะไม่เกิดจากการคำนวณนับวันตามตารางตามที่กล่าวมา ซึ่งอาจมี 29 หรือ 30 วัน
ด้วยเหตุนี้เอง จึงกล่าวว่าเดือนที่เกิดจากการมองเห็นดวงจันทร์นั้น, เป็นผลเกิดจากการขับเคลื่อนที่ผันผวนเล็กน้อยในเดือน ซึ่งเป็นไปได้ว่าช่วงสองสามเดือนติดต่อกัน (มากสุด 4 เดือน) จะมี 30 วัน และช่วง 3 เดือนติดต่อกันจะมีจำนวนวันเพียง 29 วัน
ดังนั้น บรรดาฟุเกาะฮาผู้ยิ่งใหญ่ฝ่ายชีอะฮฺ ไม่ยอมรับการคำนวณวันของนักดาราศาสตร์ด้วย 2 เหตุผลดังนี้ .
หนึ่ง : เนื่องจากโดยหลักการทางชัรอียฺแล้ว ไม่มีเหตุผลหน้าเชื่อถือเกี่ยวกับ ตารางดาราศาสตร์ ทว่าตามหลักชัรอียฺมีเหตุผลขัดแย้งกับสิ่งนั้น เช่น รายงานหนึ่งกล่าวว่า "صم للرؤیه و افطر للرؤیه" เมื่อเห็นดวงจันทร์เดือนรอมฎอน จงถือศีลอด แต่เมื่อเห็นดวงจันทร์เดือนชะอฺบาน จงอย่าถือศีลอด ทว่าจะละศีลอด”[1]
สอง : ปัญหาที่เกิดจากการคำนวณตามหลักคณิตศาสตร์ของฝ่ายดาราศาสตร์ จะเกิดในปีอธิกสุรทิน (ปีกระโดด) เนื่องจากตามการคำนวณของฝ่ายดาราศาสตร์ ในทุกรอบ 30 ปี 11 ปี จะเป็นปีอธิกสุรทิน ดังนั้น จำเป็นต้องคำนวณให้เดือน ซุลฮิจญฺ ซึ่งตามการคำนวณของพวกเขามีจำนวน 29 วัน แต่ต้องให้ 30 วัน[2]
ด้วยเหตุนี้เอง เนื่องจากจำนวนวันต่างๆ เดือน และปีจึงมีจำนวนไม่แน่นอน ดังนั้น ตามทัศนะของฟิกฮฺ เดือนที่เกิดจากการคำนวณจึงไม่ถูกต้อง บรรดาฟุเกาะฮาจึงเชื่อถือเดือนตามการมองเห็นดวงจันทร์ แต่เนื่องจากความเป็นไปได้ในการมองเห็นดวงจันทร์ ในทุกๆ ที่นั้นมีไม่เท่ากัน ดังนั้น จึงเป็นเรื่องธรรมดาที่จะต้องมีความคิดเห็นขัดแย้งกัน และในบางครั้งการมองเห็นจันทร์เสี้ยวของเดือนใหม่ ก็ได้รับการแก้ไขโดยฮากิมชัรอ์
แปลคำถามภาษาต่างๆ
ความเห็น